วันศุกร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2553

e-service

บริการ eService นี้ จัดทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์จะอำนวยความสะดวกด้านข้อมูล ข่าวสารให้แก่ผู้ใช้บริการเท่านั้น มิได้มีเจตนามุ่งหมายเพื่อการค้าใดๆ หากมีผู้ใดกระทำการผ่านบริการ eService นี้ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บริษัทหรือผู้ใช้บริการ ผู้กระทำการดังกล่าวจะต้องรับผิดทั้งทางแพ่งและทางอาญา
ข้อตกลงและเงื่อนไขการทำธุรกรรมรายการบริการต่างๆ ผ่านบริการ eService โปรดอ่านและทำความเข้าใจอย่างละเอียด
1.
การควบคุมเว็บไซด์นี้ดำเนินการโดยสำนักงานในประเทศไทย หากผู้ใช้บริการเข้าสู่เว็บไซด์นี้นอกราชอาณาจักร ผู้ใช้บริการตกลงยินยอมให้บังคับตามกฎหมายไทย
2.
การทำธุรกรรมรายการใดๆ ที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นการกระทำโดยตัวผู้ใช้บริการเอง หรือผู้ที่แอบอ้าง หรือผู้ที่ผู้ใช้บริการอนุญาตให้นำหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Password ที่ส่งทางระบบ SMS ไปยังหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ไม่ว่าด้วยความตั้งใจหรือความประมาทเลินเล่อ รวมถึงผู้ที่แอบอ้างลงทะเบียนสมัครใช้บริการโดยมิได้รับอนุญาต ให้ถือว่าการทำธุรกรรมรายการดังกล่าวถูกต้องสมบูรณ์มีผลผูกพันผู้ใช้บริการ หากมีความเสียหายเกิดขึ้นไม่ว่ากรณีใด ผู้ใช้บริการในฐานะเจ้าของหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ดังกล่าว ยินยอมรับผิดชอบในการทำธุรกรรมรายการดังกล่าวเสมือนเป็นผู้กระทำการด้วยตนเองทุกประการ โดยจะไม่สามารถโต้แย้งหรือเรียกร้องให้บริษัทต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแต่อย่างใด
3.
ผู้ใช้บริการยอมรับว่าข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ที่ผู้ใช้บริการได้กรอกเพื่อใช้บริการ eService นี้เป็นข้อมูลของผู้ใช้บริการเองและถูกต้องตรงกับความเป็นจริงทุกประการ
4.
ผู้ใช้บริการยอมรับว่าบันทึก หลักฐาน หรือเอกสารใด ๆ ที่บริษัทได้จัดทำและ/หรือบันทึกไว้ในระบบจัดเก็บข้อมูล เกี่ยวกับการทำธุรกรรมรายการต่างๆ ผ่านบริการ eService นั้นมีความถูกต้องใช้เป็นหลักฐานได้
5.
ผู้ใช้บริการยินยอมให้บริษัทประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ เพื่อไปใช้ประโยชน์ปรับปรุงการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และบริการ eService และเพื่อส่งหรือเผยแพร่ ข่าวสาร สิทธิประโยชน์ต่างๆ รวมทั้งแจ้งข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับสินค้า บริการ โปรโมชั่น และข้อเสนออื่นๆ ได้
6.
บริษัทไม่จำต้องรับผิดในความเสียหายใดๆ อันเกิดขึ้นแก่ผู้ใช้บริการไม่ว่าด้วยประการใด อันเนื่องมาจากการใช้บริการผ่านระบบ eService ทั้งนี้รวมถึงกรณีระบบการติดต่อสื่อสาร ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบไฟฟ้าขัดข้องเป็นเหตุให้ผู้ใช้บริการไม่สามารถใช้บริการ eService ได้
7.
บริการ eService เป็นเพียงช่องทางเชื่อมต่อไปยัง web site ของธนาคาร หรือบัตรเครดิต เพื่ออำนวยความสะดวกในการชำระค่าใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ และหรือบริการต่างๆ ให้แก่ผู้ใช้บริการ เท่านั้น การกระทำใดๆ เพื่อมีผลให้ต้องมีการหักเงินหรือเรียกเก็บเงินจากบัญชีเงินฝากธนาคารหรือบัญชีบัตรเครดิตใดๆ เป็นข้อตกลงระหว่างเจ้าของบัญชีเงินฝากหรือเจ้าของบัตรเครดิตกับธนาคารหรือบัตรเครดิตนั้นๆ เอง
8.
ผู้ใช้บริการตกลงจะไม่ใช่เว็บไซด์นี้ เพื่อวัตถุประสงค์ทางการค้าอื่นๆ และ/หรือดำเนินการใดๆ ที่เป็นการกระทำที่ขัดต่อกฎหมาย และ/หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนผ่านเว็บไซด์นี้ รวมถึงการไม่ส่งหรือเผยแพร่โปรแกรมไวรัส หรือโปรแกรมอื่นใดที่ออกแบบมาเพื่อขัดขวาง ทำลาย หรือทำให้เสียหาย ซึ่งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์โทรคมนาคม และ/หรืออุปกรณ์อื่นๆ ทั้งนี้ ผู้ใช้บริการตกลงจะปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ต่างๆ ของบริษัทเกี่ยวกับการใช้เครือข่ายสื่อสารข้อมูลตามที่แนบ คลิกที่นี่เพื่อดูรายละเอียด ระเบียบการใช้เครือข่ายสื่อสารข้อมูล
9.
ผู้ใช้บริการเข้าใจและรับทราบว่าข้อมูลส่วนบุคคลที่กรอกในการทำธุรกรรมรายการบริการต่างๆ บนบริการ eService นี้ จะถูกส่งผ่านทางอินเตอร์เน็ตซึ่งเป็นเครือข่ายสาธารณะ โดยบริษัทจะใช้ความพยายาม ความระมัดระวังในการกำหนดมาตรการมิให้บุคคลภายนอกเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวได้ อย่างไรก็ตามบริษัทจะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายจากการที่บุคคลภายนอกได้เห็นและ/หรือใช้ข้อมูลดังกล่าวของผู้ใช้บริการ
10.
กรณีที่ผู้ใช้บริการทราบว่ามีผู้อื่นใช้หรือนำหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Password ของผู้ใช้บริการไปใช้ โดยผู้ใช้บริการมิได้ให้ความยินยอมไม่ว่าเพื่อวัตถุประสงค์ใดก็ตาม ผู้ใช้บริการต้องแจ้งให้บริษัททราบทันที เพื่อบริษัทจะได้ยกเลิกธุรกรรมรายการที่เกิดขึ้นจากการกระทำดังกล่าว โดยสามารถแจ้งผ่านเว็บไซด์นี้ได้
คำเตือน: การลงทะเบียนใช้บริการ eService ผ่านเว็บไซด์นี้ ถือว่าผู้ใช้บริการยอมรับเงื่อนไขดังกล่าวที่กำหนดไว้ในบนเว็บไซด์นี้อย่างละเอียดแล้วทุกประการ หากผู้ใช้บริการไม่ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขที่กำหนดไว้ ขอให้ปฏิเสธการลงทะเบียนผ่านเว็บไซด์นี้


e-service ข้างต้นนี้เป็นตัวอย่างบางตังอย่างที่มีในให้ใช้บริการในอินเทอร์เน็ทต์ที่ทุกคนสามารถเข้าไปใช้บริการได้โดยไม่ต้องไปที่อื่นไกล เพียงแค่คลิกเข้าไปใน e-service ง่ายต่อการใช้บริการที่บ้านคุณ
มีให้เลือกใช้บริการหลายแบบ

วันจันทร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2553

วิเคราะห์แผนการสอน

การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นายไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์
สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
N. PAITOON
2
สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิด
หลักการ
เงื่อนไข
เป้า
ประสงค์
ทางสายกลาง
แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ
ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกัน
ในตัวที่ดี
ความรู้
คุณธรรม
ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง
ซื่อสัตย์สุจริต อดทนเพียร มีสติ ปัญญา
สร้างสมดุล/มั่นคง/เป็นธรรม/ยั่งยืน
พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน
ทั้งด้านเศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม
N. PAITOON
N. PAITOON
แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและไม่ประมาท โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสินใจและการกระทำ
N. PAITOON
N. PAITOON
มีหลักพิจารณาอยู่ด้วยกัน 5 ส่วน ดังนี้
1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
N. PAITOON
N. PAITOON
2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติตนบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
3. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้
N. PAITOON
N. PAITOON
ความพอประมาณ
หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล
หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยเกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
N. PAITOON
N. PAITOON
การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
N. PAITOON
N. PAITOON
4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน
เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต ไม่โลภ และไม่ตระหนี่

N. PAITOON
N. PAITOON
5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม
N. PAITOON
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้
ไม่เจ็บ
ไม่จน
พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านทั้งเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
จะทำการผลิตหรือบริโภค ตั้งอยู่บนความพอดีมีต้นทุนอะไรบ้าง
+
ต้องตัดสินใจอย่างมีเหตุผล
+
N. PAITOON
N. PAITOON
การจัดการศึกษาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดำเนินการได้ 2 ส่วน
การบริหารสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ
การจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งประกอบด้วย - การสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงใน
หลักสูตรและสาระเรียนรู้ในห้องเรียน - การประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัด
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนอกห้องเรียน
N. PAITOON
N. PAITOON
องค์ประกอบการประเมินสถานศึกษา
ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา (20 คะแนน)
นโยบายการขับเคลื่อน วิชาการ อาคารสถานที่ งบประมาณ และความสัมพันธ์กับชุมชน
ด้านหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน (20 คะแนน)
การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สื่อและแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียนมีความรู้และปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการวัดและประเมินผล
N. PAITOON
N. PAITOON
ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (20 คะแนน)
การแนะแนวระบบดูแล กิจกรรมลูกเสือ วิชาทหาร โครงงาน สิ่งประดิษฐ์ ชุมนุม ชุมชน องค์กร และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
ด้านพัฒนาบุคลากร (20 คะแนน)
การสร้างความตระหนัก การส่งเสริมให้มีการพัฒนา การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต การติดตามประเมินผลการพัฒนา และการเผยแพร่แนวคิดและผลการดำเนินการ
ด้านผลลัพธ์และความสำเร็จ (20 คะแนน)
สถานศึกษาพอเพียง ผู้บริหารพอเพียง ครูพอเพียง บุคลากรพอเพียง และนักเรียนพอเพียง
N. PAITOON
N. PAITOON
แผนการดำเนินงานหลัก 4 ประการ
สร้างความรู้ความเข้าใจ
นำสู่การปฏิบัติ
ประสานความร่วมมือเชื่อมโยงเครือข่าย
การติดตามประเมินผล
N. PAITOON
N. PAITOON
แล้วเราจะเริ่มทำอะไรก่อน - หลัง
พัฒนาบุคลากร ครูและบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จัดกลุ่มภาระงานตามองค์ประกอบการประเมิน
2.1 ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา
2.2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
2.3 ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2.4 ด้านพัฒนาบุคลากร
2.5 ด้านผลลัพธ์และความสำเร็จ
N. PAITOON
N. PAITOON
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกัน
ความรู้
คุณธรรม
สังคม
เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
นำภาระงานมาบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
N. PAITOON
N. PAITOON
ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
ระดับ ปวช.1 บูรณาการเนื้อหาเศรษฐกิจพอเพียงในภาควิชากลุ่มสังคม ระดับ ปวส.1 สอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคเรียนที่ 1
ทั้งระดับปวช. 1 และปวส. 1 บูรณาการเนื้อหาความรู้เศรษฐกิจพอเพียงในรายวิชาตามกลุ่มวิชาสังคม
ที่สำคัญทุกรายวิชา หน่วยการเรียนที่จะบูรณาการ ควรให้ความรู้ หรือจัดทำเป็นใบความรู้ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ให้ผู้เรียนทราบก่อนการปฏิบัติทุกครั้ง
N. PAITOON
N. PAITOON
ตัวอย่าง ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน เกณฑ์การให้คะแนน พิจารณาจาก P D C A
บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
P มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการ
D มีการดำเนินการตามแผน
C มีการติดตามประเมินรายงานผล
A มีการนำผลไปใช้ในการพัฒนา
N. PAITOON
N. PAITOON
การจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
P มีแนวทางให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีผลงาน
D มีการดำเนินการตามแนวทาง
C มีการติดตามประเมินผล
A มีการนำผลไปใช้ในการพัฒนา
N. PAITOON
N. PAITOON
ด้านสื่อและแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
P มีแนวทางการใช้ผลิตเผยแพร่สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
D มีการดำเนินการใช้สื่อตามแนวทาง
C มีการติดตามประเมินผล
A นำผลมาพัฒนาการใช้ผลิต เผยแพร่สื่อ/แหล่งการ
เรียนรู้
N. PAITOON
N. PAITOON
ด้านผู้เรียนมีความรู้และปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
P ผู้เรียนในแต่ละสาขาร้อยละ 50 มีความรู้ความเข้าใจ
D ผู้เรียนในแต่ละสาขาร้อยละ 25 มีส่วนร่วมในการ
เผยแพร่ในสถานศึกษา
C ผู้เรียนในแต่ละสาขาร้อยละ 25 สามารถเผยแพร่สู่
ครอบครัว/ชุมชน/องค์กร/หน่วยงาน
A ผู้เรียนในแต่ละสาขาร้อยละ 25 ได้นำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
N. PAITOON
N. PAITOON
ด้านการวัดประเมินผล
P มีเครื่องมือ/วิธีการวัดประเมินผล
D มีการนำเครื่องมือไปใช้ขับเคลื่อน
C มีการติดตามประเมินผล
A มีการนำผลไปใช้ในการพัฒนา
N. PAITOON
N. PAITOON
แนวความคิดการบูรณาการ
บูรณาการปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
เลือกหน่วย
การเรียนรู้
จากรายวิชาอย่างน้อย 1 หน่วย
เศรษฐกิจ
สังคม
วัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อม
N. PAITOON
N. PAITOON
ขั้นตอนการจัดทำหน่วยการเรียน แบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เริ่มจากการกำหนดหน่วยการเรียน
วิเคราะห์เนื้อหาหรือกิจกรรมที่สามารถสอดแทรกแนวบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวมในส่วนที่เป็นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปด้วย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เกี่ยวข้อง
กำหนดเครื่องมือวิธีการวัด และเกณฑ์การประเมิน
N. PAITOON
N. PAITOON
การจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ไม่เคร่งครัดในเรื่องรูปแบบสามารถ
ปรับใช้ได้ตามธรรมชาติของแต่ละวิชา ระดับชั้น และบริบทของสถานศึกษา แต่ให้คงหัวข้อสำคัญไว้ ได้แก่ สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
และการวัดประเมินผล (ข้อควรจำ)
N. PAITOON
N. PAITOON
“ครู” หมายความว่า
บุคลากรวิชาชีพ ซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้าน
การเรียนการสอน และการส่งเสริมการเรียนรู้
ของผู้เรียน ด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษา
ทั้งของรัฐและเอกชน
N. PAITOON
N. PAITOON
ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและ จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548 หมวด 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ของผู้ประกอบวิชาชีพครู
1. ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนา
วิชาชีพครูอยู่เสมอ 2. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลที่
จะเกิดแก่ผู้เรียน
N. PAITOON
N. PAITOON
3. มุ่งพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ 4. พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง 5. พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ 6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้นผลถาวรที่ เกิดแก่ผู้เรียน 7. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ
N. PAITOON
N. PAITOON
8. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน 9. ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ 10. ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ 11. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 12. สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทุกสถานการณ์
N. PAITOON
N. PAITOON
ต้องรู้อะไร ? ก่อนทำแผนการจัดการเรียนรู้
1. รู้เนื้อหาวิชาที่จะสอนอย่างชัดเจน
- หลักสูตร (จุดประสงค์รายวิชา, เนื้อหา, เวลา)
- ความสัมพันธ์กับรายวิชาอื่น
- ประสบการณ์เดิมของผู้สอนและผู้เรียน
- เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา
N. PAITOON
N. PAITOON
2. รู้กระบวนการเรียนรู้ของคน
- วิธีสอน
- สื่อและอุปกรณ์การสอน
3. เครื่องมือ / อุปกรณ์ / สิ่งอำนวยความสะดวกอื่น
- สื่อและเครื่องมือต่าง ๆ
- เอกสารประกอบการค้นคว้า / อ้างอิง
N. PAITOON
N. PAITOON
ประโยชน์ต่อผู้สอน
1. ได้ศึกษาและวิเคราะห์รายวิชา
2. ได้กำหนดจุดประสงค์การสอนแต่ละหน่วย
3. ได้กำหนดเวลาและวิธีสอนที่เหมาะสม
4. ได้เลือกกิจกรรมและสื่อการสอนต่าง ๆ
5. ได้เลือกวิธีวัดและประเมินผลตรงตาม
จุดประสงค์การสอน
N. PAITOON
N. PAITOON
6. เป็นเครื่องมือเพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่ครูผู้สอน
7. สร้างความศรัทธาแก่ผู้เรียน
8. เป็นเครื่องยืนยันและหลักฐานอ้างอิง
N. PAITOON
N. PAITOON
ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้
1. แผนการสอนอย่างหยาบ หรือ การจัดทำโครงการสอน
(Course Outline) เป็นแบบ Macro Plan
2. แผนการสอนย่อย จัดเป็นแบบ Micro Plan นิยมยึดถือ
เนื้อหาวิชามากกว่าคาบการสอน โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น
หน่วย ๆ เรียกว่า แผนการจัดการเรียนรู้แบบหน่วย
มีความละเอียด
ครู - อาจารย์อื่นสอนแทนได้
มีเอกสารสอนในแผนนั้นอย่างครบถ้วน
N. PAITOON
N. PAITOON
แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง
รายละเอียดของกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูผู้สอนกำหนดขึ้นอย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้า เพื่อนำไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้
N. PAITOON
N. PAITOON
ส่วนประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
1. ส่วนประกอบตอนต้น ประกอบด้วย ปก คำนำ สารบัญ ลักษะรายวิชา สมรรถนะรายวิชา การวิเคราะห์หลักสูตรและกำหนดการสอน
2. ส่วนที่เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง สาระสำคัญ สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล
3. ส่วนประกอบตอนท้าย ประกอบด้วย สื่อ ใบช่วยสอน แบบฝึก แบบทดสอบ เครื่องมือประเมิน และบันทึกผลหลังการเรียนรู้

N. PAITOON
N. PAITOON
องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
1. รายวิชา 7. สาระการเรียนรู้
2. ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 8. กิจกรรมการเรียนรู้
3. ชื่อเรื่อง 9. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
4. สาระสำคัญ 10. หลักฐานการเรียนรู้
5. สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 11. การวัดประเมินผล
6. จุดประสงค์การเรียนรู้ 12. บันทึกผลหลังการเรียนรู้
N. PAITOON
N. PAITOON
หัวข้อปฏิบัติในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
. วิเคราะห์หลักสูตร
. กำหนดสมรรถนะ
. กำหนดการสอน
. กำหนดชื่อเรื่อง
สาระสำคัญ
สมรรถนะประจำหน่วย
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
4. สาระการเรียนรู้
5. กิจกรรมการเรียนรู้
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
7. หลักฐานการเรียนรู้
8. การวัดและประเมินผล
N. PAITOON
N. PAITOON
การวิเคราะห์หลักสูตร
เป็นการแยกแยะหลักสูตรให้เห็นองค์ประกอบย่อย โดยมุ่งหวังให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาวิชาและพฤติกรรม ซึ่งเป็นจุดหมายปลายทางของแต่ละรายวิชา รวมถึงการกำหนดสัดส่วนน้ำหนักความสำคัญของเนื้อหา และพฤติกรรมพึงประสงค์ การวิเคราะห์หลักสูตรลักษณะนี้จะออกมาในรูปของตารางที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและพฤติกรรมที่จะวัด เรียกว่า ตารางวิเคราะห์หลักสูตร หรือตารางกำหนดรายละเอียดของวิชา (Table of Specifications)
N. PAITOON
N. PAITOON
ประโยชน์ของการวิเคราะห์หลักสูตร

1) ทำให้ทราบว่าจะสอนอะไร สอบอะไร อย่างละเท่าไร
2) เป็นเครื่องชี้ทางในการกำหนดพฤติกรรมแก่ผู้เรียน
3) เป็นเครื่องมือในการเลือกกิจกรรมและวิธีการจัดการ
เรียนรู้
4) ช่วยให้ผู้สอนบริหารเวลาในการสอนและการสอบได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
5) ช่วยให้ข้อสอบมีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
6) ช่วยให้การเรียนการสอนมีคุณภาพและมาตรฐานยิ่งขึ้น
N. PAITOON
N. PAITOON
ขั้นตอนการวิเคราะห์หลักสูตร

1) การวิเคราะห์จุดประสงค์ เป็นการแปลจุดประสงค์รายวิชา
เป็นพฤติกรรมที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อเรียนวิชานั้น ๆ
จบลงแล้ว
2) การวิเคราะห์เนื้อหา เป็นการนำเอาเนื้อหาวิชาจากหลักสูตรมา
แบ่งออกเป็นหน่วยย่อย ๆ ในลักษณะหน่วยการเรียน
3) การสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร เป็นตารางการหาสัดส่วน
ความสำคัญ และแสดงความสัมพันธ์ของพฤติกรรมกับเนื้อหา
N. PAITOON
N. PAITOON
ลักษณะรายวิชา
รหัสและวิชา....................................................................................................
หน่วยกิต (ชั่วโมง)........................... เวลาเรียนต่อภาค.......................... ชั่วโมง
ปรับหน่วยการเรียนเป็นสมรรถนะ
จุดประสงค์รายวิชา.......
มาตรฐานรายวิชา..........
คำอธิบายรายวิชา..........
N. PAITOON
N. PAITOON
1) การวิเคราะห์จุดประสงค์
เป็นการแปลจุดประสงค์รายวิชา ออกเป็นพฤติกรรมที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน เมื่อเรียนจบรายวิชานั้น ๆ แล้ว แต่ละวิชาอาจมีจุดประสงค์แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับธรรมชาติของแต่ละวิชา
พฤติกรรม + เงื่อนไขหรือสถานการณ์หรือเนื้อหาวิชา
1 2
- เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ
N. PAITOON
N. PAITOON
จุดประสงค์ของการศึกษา Benjamin S. Bloom ได้จำแนกจุดประสงค์ ดังนี้
1. Cognitive Domain พุทธิพิสัย
2. Phychomotor Domain ทักษะพิสัย
3. Affective Domain จิตพิสัย
N. PAITOON
N. PAITOON
ขอบเขตของจุดประสงค์
1. พุทธิพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้
6 การประเมินค่า
5 การสังเคราะห์
4 การวิเคราะห์
3 การนำไปใช้
2 ความเข้าใจ
1 ความรู้ความจำ
N. PAITOON
N. PAITOON
ตัวอย่างคำกริยา พุทธิพิสัย
ระดับ
ความรู้
ความเข้าใจ
การนำไปใช้
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประเมินค่า
จุดประสงค์ทั่วไป
รู้ศัพท์ รู้ข้อเท็จจริง รู้กฏเกณฑ์ รู้ลำดับขั้น รู้ความสำคัญ รู้วิธีการ
เข้าใจข้อเท็จจริง ตีความหามาย คาดการณ์ที่เกิดขึ้น
แก้ปัญหา คำนวณ ตรวจสอบ ประมาณการ พิจารณา เลือก
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประเมิน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
บรรยาย ชี้แจ้ง เขียน บอก เลือก ชี้บ่ง จัด จำแนก ระบุ ค้นหา วิธีปฏิบัติ
เรียบเรียง แปลง แปล เปลี่ยน อธิบาย ขยายความ เขียนใหม่ สรุป
เลือก เปลี่ยนวิธีการ คำนวณ ปรับปรุง ใช้ เขียนแผนงาน แก้ปัญหา ผลิต แต่ง
จำแนก ชี้บ่ง เปรียบเทียบ จัดประเภท ระบุ หาความสัมพันธ์
เขียนแผนผัง วางแผน กำหนดขอบข่าย ประเมิน พิจารณา
ตัดสิน เปรียบเทียบกับมาตรฐาน เปรียบเทียบกับเกณฑ์
N. PAITOON
N. PAITOON
6 การประเมินค่า
5 การสังเคราะห์
4 การวิเคราะห์
3 การนำไปใช้
2 ความเข้าใจ
1 ความรู้ความจำ
ด้านความสามารถ / ทักษะทางปัญญา
ด้านความรู้
ต่ำ
สูง
N. PAITOON
N. PAITOON
2. ทักษะพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้
5 ทักษะการทำจนเคยชิน
4 ทักษะการกระทำอย่างต่อเนื่อง
3 ทักษะที่มีความถูกต้องตามแบบ
2 ทักษะการทำตามแบบ
1 ทักษะการเลียนแบบ
N. PAITOON
N. PAITOON
3. จิตพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้
5 การสร้างลักษณะพิสัย
4 การจัดระบบ
3 การสร้างคุณค่า
2 การตอบสนอง
1 การเรียนรู้
N. PAITOON
N. PAITOON
พุทธิพิสัย
ทักษะพิสัย............มีทุกวิชา
จิตพิสัย.................มีทุกวิชา
1..................
2..................
3..................
4..................
5..................
6..................
N. PAITOON
N. PAITOON
2) การวิเคราะห์เนื้อหา
เป็นการนำเอาคำอธิบายรายวิชาจากหลักสูตรมาแบ่งเป็นเรื่องย่อย ๆ หรือหน่วยย่อย ๆ ตามสมควร การแบ่งเนื้อหาวิชานี้พยายามแบ่งให้แต่ละตอนไล่เลี่ยกัน อาจจะมีการสลับหัวข้อเสียใหม่บ้างก็ได้เพื่อให้มีความต่อเนื่องกัน หรือเห็นว่าเนื้อหาตอนใดควรต่อเติมก็ย่อมทำได้ ข้อสำคัญก็คือไม่ควรมีการตัดทอนเนื้อหาของหลักสูตรให้น้อยลง แล้วจึงนำมาจัดเรียงตามลำดับ
N. PAITOON
N. PAITOON
ขั้นตอนการวิเคราะห์เนื้อหา
2.1) ศึกษาและวิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา
2.2) กระจายคำอธิบายออกเป็นเนื้อหาหัวข้อใหญ่ ๆ
2.3) รวมกลุ่มเนื้อหาที่มีความหมายในทางเดียวกัน
ไว้ด้วยกัน
2.4) ศึกษาความเป็นไปได้ของกลุ่มเนื้อหาทุกกลุ่ม
2.5) กำหนดชื่อหน่วยการเรียนที่เป็นตัวแทนเนื้อหา
2.6) เรียงหน่วยการเรียนตามหลักการจัดลำดับเนื้อหา
N. PAITOON
N. PAITOON
การใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหมายและประโยชน์ของ
ฐานข้อมูล การเลือกใช้โปรมแกรมฐานข้อมูลที่เหมาะสมกับ
ลักษณะงาน การจัดเก็บข้อมูลด้วยตารางข้อมูล การป้อนและ
แก้ไขตารางข้อมูล การค้นหาข้อมูล การสร้างความสัมพันธ์
ระหว่างแฟ้มข้อมูล การสร้างแบบฟอร์มในการกรอกข้อมูล
การสร้าง รายงาน การเขียนโปรแกรมฐานข้อมูลเบื้องต้น
N. PAITOON
N. PAITOON
จุดสำคัญของการสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร คือการหาสัดส่วนความสำคัญของเนื้อหาวิชา ในแต่ละพฤติกรรมที่สัมพันธ์กันตามหลักสูตรต้องการ นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ต่อการกำหนดคาบสอนของแต่ละเนื้อหาวิชา และการวัดผลการศึกษาด้วย โดยมีขั้นตอนดังนี้
3) การสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร
N. PAITOON
N. PAITOON
ขั้นตอนการสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร
1. วิเคราะห์วัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชาในหลักสูตร โดยพิจารณาพฤติกรรมและเนื้อหาให้เป็นที่เข้าใจ
2. กรอกรายการเนื้อหาวิชาที่จัดเป็นหัวข้อใหญ่ ๆ
ลงตารางวิเคราะห์หลักสูตรเป็นหน่วยการเรียน
N. PAITOON
N. PAITOON
3. กำหนดน้ำหนักคะแนนความสำคัญของแต่ละหน่วยการเรียน ในแต่ละพฤติกรรม ช่องละ 10 คะแนนโดยยึดเกณฑ์น้ำหนักคะแนน ดังนี้
สำคัญที่สุด 9 - 10 คะแนน
สำคัญมาก 7 - 8 คะแนน
ปานกลาง 4 - 6 คะแนน
สำคัญน้อย 2 - 3 คะแนน
น้อยมากหรือไม่สำคัญเลย 0 – 1 คะแนน
N. PAITOON
N. PAITOON
4. นำตารางมาหาผลรวมในแต่ละช่องทางด้านขวามือ
เพื่อให้ทราบลำดับความสำคัญของเนื้อหา
5. รวมน้ำหนักลงด้านล่าง (พฤติกรรม) แล้วจัดลำดับ
ความสำคัญของพฤติกรรมที่ต้องการปลูกฝัง
6. ปรับตารางเฉลี่ยให้เป็น 100 หน่วย
N. PAITOON
N. PAITOON
40
24
36
12
48
40
20
220
220
40
100
40100
220
= 18.18
18
100
N. PAITOON
N. PAITOON
40
24
36
12
48
40
20
220 100
40
9
18
9  18
40
= 4.05
18
4
9
10
8
5
8
N. PAITOON
N. PAITOON
40
24
36
12
48
40
20
220 100
18
100
18
72
1872
100
= 12.96
= 12
3(4) = 184 = 72
หน่วยกิต
ชั่วโมง
สัปดาห์
12
ชั่วโมง
72
N. PAITOON
N. PAITOON
กำหนดหน่วยการเรียนเป็นสมรรถนะ
N. PAITOON
N. PAITOON
รายวิชาตามหลักสูตรเดิม
แปลงหน่วยเรียนให้เป็นสมรรถนะ
ที่
สมรรถนะ
เวลา
รหัส____ วิชา________หน่วยกิต ____
1
กริยา + กรรม + เงื่อนไข
x
จุดประสงค์รายวิชา
2
________________
3
________________
4
________________
5
มาตรฐานรายวิชา
________________
________________
คำอธิบายรายวิชา
________________
________________
________________
รวม
x
N. PAITOON
N. PAITOON
สมรรถนะ ( Competence )
ในบริบทของมาตรฐานอาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ
และมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพซึ่งใช้กับคนนั้น จะใช้
ศัพท์ของคำ Competence ว่า “สมรรถนะ” คือ
ความสามารถในการปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ทักษะ
และเจตคติ ที่บูรณาการกันอย่างแนบแน่นเพื่อให้เกิด
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
N. PAITOON
N. PAITOON
หลักสูตรของ สอศ. มุ่งให้ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้ตามความต้องการของสถานประกอบการ แต่หลักสูตรดังกล่าวเป็นเอกสารที่ระบุข้อมูลไว้เพื่อการจัดการเรียนการสอนเป็นหลักจึงไม่ได้ระบุข้อมูลที่แสดงว่า ผู้สำเร็จการศึกษา
สามารถทำอะไรได้
N. PAITOON
N. PAITOON
หลักสูตร ปวช. และ ปวส. มีโครงสร้างที่ยังไม่เป็นหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะที่สมบูรณ์ อีกทั้งในแต่ละรายวิชายังไม่อำนวยความสะดวกในการจัดเทียบโอนประสบการณ์ตามความต้องการของผู้เรียนได้ อย่างไรก็ตามไม่ว่าหลักสูตรจะกำหนดไว้อย่างไรย่อมมีทางออกในการจัดการเรียนการสอนให้เกิดสมรรถนะได้ทั้งสิ้น
N. PAITOON
N. PAITOON
สมรรถนะ ( Competence / Competency )
จะต้องมีครบ 3 องค์ประกอบ
1. ความรู้ ความเข้าใจในงานที่ทำ
2. ทักษะในการทำงานให้บรรลุผลสำเร็จ
3. กิจนิสัยหรือเจตคติในการทำงาน
องค์ประกอบทั้งสามนี้อาจจะเริ่มต้นที่องค์ประกอบ
ใดก็ได้ แต่ต้องบรูณาการเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถ
ปฏิบัติงานได้อย่างมีสมรรถนะ
N. PAITOON
N. PAITOON
แผนการจัดการเรียนรู้แบบเน้นสมรรถนะ
เป็นข้อเสนอแนะสำหรับการนำรายวิชาที่มีอยู่ ในหลักสูตร ปวช. และ ปวส. มาดัดแปลงให้เป็นรายวิชาแบบหน่วยการเรียนซึ่งโดยปกติรายวิชาทุกรายวิชาในหลักสูตรสามารถพัฒนาให้เกิดสมรรถนะได้ทั้งสิ้น เนื่องจากสมรรถนะดังกล่าวมี 2 ชนิดคือ สมรรถนะการปฏิบัติงาน และสมรรถนะทางปัญญา
N. PAITOON
N. PAITOON
2. สมรรถนะทางปัญญา ( Cognitive Competence )
เป็นสมรรถนะของการคิด โดยใช้ทักษะทางปัญญา หรือ
ทักษะการคิด เช่น การแก้ปัญหา การใช้เหตุผล การ
ถ่ายทอดและการเรียนรู้
รายวิชาทุกรายวิชาในหลักสูตรสามารถพัฒนาให้เกิด
สมรรถนะได้ทั้งสิ้น เนื่องจากสมรรถนะดังกล่าว มี 2 ชนิด
1. สมรรถนะการปฏิบัติงาน ( Practical Competence )
เป็นทักษะการเคลื่อนไหวของร่างกายเป็นหลัก เช่น การผลิต
การประกอบ การซ่อม การสร้าง การบริหาร ฯลฯ
รายวิชาทุกรายวิชาในหลักสูตรสามารถพัฒนาให้เกิด
สมรรถนะได้ทั้งสิ้น เนื่องจากสมรรถนะดังกล่าว มี 2 ชนิด
1. สมรรถนะการปฏิบัติงาน ( Practical Competence )
เป็นทักษะการเคลื่อนไหวของร่างกายเป็นหลัก เช่น การผลิต
การประกอบ การซ่อม การสร้าง การบริหาร ฯลฯ
N. PAITOON
N. PAITOON
การเขียนข้อความแสดงสมรรถนะ
ข้อความที่เขียนจะต้องอยู่ในรูป กริยา – กรรม – เงื่อนไข
( Verb–Object–Condition) ซึ่งถือเป็นหลักสำคัญการเขียน
เนื่องจากเป็นข้อความที่ใช้ในการสื่อสารความหมายระหว่าง
ผู้เกี่ยวข้อง เช่น
“ นวด ฝ่าเท้า เพื่อสุขภาพ ”
N. PAITOON
N. PAITOON
ส่วนที่ 1 กริยา แสดงการกระทำหรือแสดงสมรรถนะ
การปฏิบัติ การผลิต หรือบริการ
ส่วนที่ 2 กรรม สิ่งที่ถูกกระทำอาจเป็นบุคคล ข้อมูล
สิ่งของหรือผลิตภัณฑ์ รวมทั้งสิ่งมีชีวิตอื่นที่เกิดจาก
การผลิตหรือได้รับการบริการ
ส่วนที่ 3 เงื่อนไข สถานการณ์ที่ทำให้สมรรถนะนั้นมี
ความชัดเจนภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว
N. PAITOON
N. PAITOON
รายวิชาตามหลักสูตรเดิม
แปลงหน่วยเรียนให้เป็นสมรรถนะ
ที่
สมรรถนะ
เวลา
รหัส____ วิชา________หน่วยกิต ____
1
กริยา + กรรม + เงื่อนไข
x
จุดประสงค์รายวิชา
2
________________
3
________________
4
________________
5
มาตรฐานรายวิชา
________________
________________
คำอธิบายรายวิชา
________________
________________
________________
รวม
x
N. PAITOON
N. PAITOON
การใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหมายและประโยชน์ของ
ฐานข้อมูล การเลือกใช้โปรมแกรมฐานข้อมูลที่เหมาะสมกับ
ลักษณะงาน การจัดเก็บข้อมูลด้วยตารางข้อมูล การป้อนและ
แก้ไขตารางข้อมูล การค้นหาข้อมูล การสร้างความสัมพันธ์
ระหว่างแฟ้มข้อมูล การสร้างแบบฟอร์มในการกรอกข้อมูล
การสร้าง รายงาน การเขียนโปรแกรมฐานข้อมูลเบื้องต้น
N. PAITOON
N. PAITOON
รหัสวิชา..................ชื่อวิชา.....................................
ที่ สมรรถนะ
คะแนน
เต็ม
คะแนน
ที่ได้รับ
วิธีประเมิน/
เครื่องมือที่ใช้
รวม
100
1
2
3
4
5
6
7
.........................
.........................
.........................
.........................
.........................
.........................
.........................
N. PAITOON
N. PAITOON
กำหนดการสอน
เป็นลักษณะการแบ่งหน่วยการเรียนหนึ่ง ๆ ออกเป็นหัวข้อเรื่องใหญ่ ๆ ที่จะสอนตามความเหมาะสม และตามลำดับการเรียนรู้ของเนื้อหา
N. PAITOON
N. PAITOON
หน่วยที่
ชื่อหน่วย / รายการสอน
จำนวน
สัปดาห์ที่
ชั่วโมงที่
กำหนดการสอน
N. PAITOON
N. PAITOON
หน่วยที่ .............................
1. หัวข้อใหญ่
1.1 หัวข้อรอง
1.1.1 หัวข้อย่อย
1.1.2........................................................................................
1.2.................................................................................................
1.3................................................................................................
2. .......................................................................................................
2.1................................................................................................
เรื่อง..........................................................................................
N. PAITOON
N. PAITOON
โครงสร้างการเรียนรู้
1. ความหมาย
2. ความสำคัญ ประโยชน์
3. ทฤษฎี หลักการ
4. วิธีการ ขั้นตอน
5. กระบวนการทำงาน
6. การนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้
7. กิจนิสัย คุณธรรม
N. PAITOON
N. PAITOON
กำหนดชื่อเรื่อง
การเขียนชื่อเรื่อง ก็คือการนำหัวข้อเรื่องที่จะสอนมากำหนดเป็นชื่อเรื่องในหน่วยการเรียนนั้น ๆ เช่น
ชื่อเรื่อง การเลี้ยงดูบิดา มารดา และบุตร
หัวข้อเรื่องที่จะสอนในหน่วยการเรียนนี้ คือ
1. การเลี้ยงดูบิดา มารดา
2. การเลี้ยงดูบุตร
N. PAITOON
N. PAITOON
1. สาระสำคัญ
หมายถึง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเนื้อหา หลักการวิธีการที่ต้องการให้ผู้เรียนได้รับ หลังจากเรียนเรื่องนั้น ๆ แล้ว ทั้งในด้านความรู้ทักษะ และ เจตคติโดยพิจารณาจากจุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ แล้วเขียนเป็นข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนจะได้รับ
N. PAITOON
N. PAITOON
2. สมรรถนะประจำหน่วยการเรียน
เป็นความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะปฏิบัติ และทักษะด้านความคิดในการปฏิบัติงานในหน่วยการเรียนรู้นั้น ๆ ให้มีประสิทธิผล ซึ่งจะเขียนในรูป กริยา - กรรม - เงื่อนไขหรือสถานการณ์
N. PAITOON
N. PAITOON
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป หมายถึง ความคาดหวังที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน หลังจากผ่านการเรียน การฝึก และอบรมแล้ว เป็นข้อความที่เขียนอย่างกว้าง ๆ
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน ภายใต้เงื่อนไขหรือเนื้อหาหรือสถานการณ์ ที่สามารถวัดและสังเกตได้
N. PAITOON
N. PAITOON
การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้
การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ประจำหน่วย อาจมีการบูรณาการ
คุณธรรม จริยธรรม และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าด้วยก็ได้
1. จุดประสงค์ทั่วไป
พฤติกรรม + เงื่อนไขหรือสถานการณ์หรือเนื้อหาวิชา
1 2
2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
พฤติกรรม + เงื่อนไขหรือสถานการณ์ + เกณฑ์
1 2 3
N. PAITOON
N. PAITOON
ตัวอย่างคำกริยา พุทธิพิสัย
ระดับ
ความรู้
ความเข้าใจ
การนำไปใช้
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประเมินค่า
จุดประสงค์ทั่วไป
รู้ศัพท์ รู้ข้อเท็จจริง รู้กฏเกณฑ์ รู้ลำดับขั้น รู้ความสำคัญ รู้วิธีการ
เข้าใจข้อเท็จจริง ตีความหามาย คาดการณ์ที่เกิดขึ้น
แก้ปัญหา คำนวณ ตรวจสอบ ประมาณการ พิจารณา เลือก
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประเมิน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
บรรยาย ชี้แจ้ง เขียน บอก เลือก ชี้บ่ง จัด จำแนก ระบุ ค้นหา วิธีปฏิบัติ
เรียบเรียง แปลง แปล เปลี่ยน อธิบาย ขยายความ เขียนใหม่ สรุป
เลือก เปลี่ยนวิธีการ คำนวณ ปรับปรุง ใช้ เขียนแผนงาน แก้ปัญหา ผลิต แต่ง
จำแนก ชี้บ่ง เปรียบเทียบ จัดประเภท ระบุ หาความสัมพันธ์
เขียนแผนผัง วางแผน กำหนดขอบข่าย ประเมิน พิจารณา
ตัดสิน เปรียบเทียบกับมาตรฐาน เปรียบเทียบกับเกณฑ์
N. PAITOON
N. PAITOON
ตัวอย่างคำกริยา ทักษะพิสัย
ระดับ จุดประสงค์ทั่วไป จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ไม่แบ่งระดับ
ใช้เครื่องมือ ใช้อุปกรณ์ สร้าง
ทำ ปฏิบัติงาน ประดิษฐ์
ประกอบ สร้าง แต่ง ทุบ ถอด
ก่อ ต่อ เติม ทำ ตอน เจาะ
ระดับ จุดประสงค์ทั่วไป จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ไม่แบ่งระดับ
เห็นคุณค่า เห็นความสำคัญ
รับผิดชอบ ทัศนคติ กิจนิสัย
สนใจ ให้ความร่วมมือ เห็นด้วย
ยอมรับ ปฏิบัติตาม สนับสนุน
ตัวอย่างคำกริยา จิตพิสัย
N. PAITOON
N. PAITOON
จุดประสงค์ทั่วไป
แสดงการเรียนรู้รวม ๆ ไม่แจกแจงพฤติกรรมย่อย
นิยมเขียนน้อยข้อ
ใช้คำกริยากว้าง ๆ
ตัวอย่าง : เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ …
เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับ...
เพื่อให้เห็นคุณค่า ...
N. PAITOON
N. PAITOON
ระบุชัดเจนว่าต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมอะไรที่สามารถวัด/สังเกตได้
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
เขียนให้ครอบคลุมทั้งพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย
เขียนให้ครบ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ พฤติกรรม
เงื่อนไข และเกณฑ์
จำนวนข้อที่เขียนเหมาะสมกับเวลาสอน
1. บอกความหมายของงบการเงินได้
2. อธิบายประโยชน์ของงบการเงินได้
3. จำแนกความแตกต่างของงบการเงินได้
4. บอกคำศัพท์ได้ถูกต้องอย่างน้อย 8 ใน 10 คำ
5. ทำงบการเงินเสร็จภายใน 50 นาที
6. ปฏิบัติงานได้ตามกำหนดเวลา
N. PAITOON
N. PAITOON

4. สาระการเรียนรู้
เป็นการเขียนเนื้อหาสาระที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์ที่กำหนด ครูอาจจะเขียนเนื้อหารายละเอียดทั้งหมด ตามหัวข้อที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ หากรายละเอียดของเนื้อหามีมาก
อาจเขียนเฉพาะหัวข้อเรื่องนั้น ๆ ไว้ (รวมหัวข้อเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง) ส่วนรายละเอียดของเนื้อหาอาจแยกไว้ต่างหากในรูปของใบความรู้
N. PAITOON
N. PAITOON
หน่วยที่ .............................
1. หัวข้อใหญ่
1.1 หัวข้อรอง
1.1.1 หัวข้อย่อย
1.1.2........................................................................................
1.2.................................................................................................
1.3................................................................................................
2........................................................................................................
2.1................................................................................................
เรื่อง..........................................................................................
N. PAITOON
ความรู้+ทักษะ
คุณธรรม
มีเหตุผล
พอประมาณ
มีภูมิคุ้มกัน
สังคม
เศรษฐกิจ
วัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อม
การวางแผนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง..........................................................................................
N. PAITOON
ตัวอย่างการบูรณาการการจัดการเรียนรู้
ทอดกล้วย
แขกขาย
ความรู้+ทักษะ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเลือกกล้วย น้ำมัน และกรรมวิธีการทอด
การเลือกทำเลที่ตั้งและใช้เครื่องมืออุปกรณ์
สุขอนามัยและภาชนะที่ใช้ใส่
การตลาดและจำหน่าย
คุณธรรม
ขยัน ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย
มีความรับผิดชอบ เช่น น้ำมันที่ใช้ทอด ถุงที่ใช้ใส่
มีเหตุผล
พอประมาณ
มีภูมิคุ้มกัน
5. ทำถูกสุขอนามัย
6. ทำเลดีขายได้
1. สำรวจความพร้อม
ของตน มีอะไรเป็น
ทุนอยู่แล้ว
2. อะไรที่ต้องหาเพิ่ม
3. วิเคราะห์ความเป็นไปได้
4. เครื่องมืออุปกรณ์ กล้วย น้ำมัน ถุงใส่ และทำเล
สังคม
เศรษฐกิจ
วัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อม
5, 6
1, 2
5, 6
N. PAITOON
N. PAITOON
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการและแหล่งวิทยาการ ที่ผู้สอนใช้เป็นสื่อกลางส่งถ่ายความรู้ และทักษะ ตลอดจนเจตคติไปยังผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
N. PAITOON
N. PAITOON
ใบช่วยสอน
เป็นหน้าที่ของครูที่จะพัฒนาใบช่วยสอนใช้เอง
การนำใบช่วยสอนจากที่อื่นมาใช้ อาจไม่เหมาะสมกับ
ความต้องการของผู้เรียนที่เป็นอยู่ นอกจากนั้นการพัฒนา
ใบช่วยสอนขึ้นใช้เอง จะช่วยให้ครูเข้าใจขั้นตอนที่สำคัญ
จุดอ่อนจุดเน้นของเรื่อง และสามารถพัฒนาพฤติกรรม
ความรู้ความสามารถของผู้เรียนได้ กระบวนการในการ
ใช้ใบช่วยสอนเป็นเรื่องที่ครูต้องตระหนักว่าขั้นไหนควร
ใช้อย่างไร ทั้งยังเข้าใจบทบาทของตัวเองได้ดียิ่งขึ้น
N. PAITOON
เหตุผลและความจำเป็นของการสร้างใบช่วยสอน
การสอนงาน
ภาคทฤษฎี
ภาคปฏิบัติ

ใบงาน
ใบปฎิบัติงาน
ใบความรู้
ใบมอบหมายงาน
ประเมินความรู้
ประเมินการปฏิบัติงาน
N. PAITOON
N. PAITOON
ใบความรู้
1. เนื้อหาต้องสัมพันธ์กับจุดประสงค์การเรียนรู้
2. ภาษาที่ใช้ง่าย อ่านแล้วเข้าใจ
3. มีเหตุผลอ้างอิงตามความจำเป็น
4. จัดเนื้อหาสาระตามลำดับหัวข้อการสอน
5. ใช้รูปภาพประกอบการบรรยายให้มากเท่าที่ทำได้
6. คำบรรยายหรือเนื้อหาต้องมีความสมบูรณ์
7. เนื้อหาทุกตอน อ่านแล้วต้องเข้าใจทันที
N. PAITOON
N. PAITOON
ใบความรู้ (INFORMATION SHEET)
เป็นใบช่วยสอนที่ระบุเนื้อหาตามจุดประสงค์ที่จะสอน
พร้อมด้วยคำถามทบทวน
ส่วนประกอบ
ส่วนหัว : รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต ระดับชั้น
ส่วนเนื้อหา : จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
เนื้อหาสาระ (อาจมีภาพประกอบ)
คำถาม
หนังสืออ้างอิง
N. PAITOON
N. PAITOON
ใบงานสำหรับวิชาทฤษฎี แบ่งเป็น 2 แบบ
1. ใบงานที่ใช้สำหรับวัดความก้าวหน้าระหว่างเรียน ใบงานชนิดนี้ส่วนใหญ่ ออกแบบเป็นลักษณะคำถามแบบเลือกตอบและอัตนัยแบบตอบสั้น ๆ เท่านั้น จุดประสงค์เพื่อวัดปริมาณของเนื้อหาที่ผู้เรียนควรจะได้รับ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการตรวจปรับความเข้าใจในการเรียนรู้ของผู้เรียน
N. PAITOON
N. PAITOON
2. ใบงานที่ใช้สำหรับวัดความก้าวหน้าหลังการเรียนการสอน ใบงานชนิดนี้ส่วนใหญ่จะเป็นแบบอัตนัย หรือการให้เงื่อนไข ข้อมูล เพื่อทำรายงาน จุดประสงค์เพื่อวัดความสามารถในการประยุกต์ใช้งาน หรือเพื่อการฝึกหัดทางสมอง เช่น งานเขียนแบบ โจทย์ฝึกหัดทางคณิตศาสตร์ เป็นต้น เวลาที่ใช้ในการทำใบงานชนิดนี้มีเวลาค่อนข้างมาก
N. PAITOON
N. PAITOON
ใบงานสำหรับวิชาปฏิบัติ
ใบงานชนิดนี้ ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นใบสั่งงาน เพื่อทำงานในลักษณะโครงการ หรือผลิตชิ้นงาน หรือการตรวจสอบประกอบงาน เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับงานที่ปฏิบัตินั้น ๆ
N. PAITOON
N. PAITOON
ใบงาน (JOB SHEET)
เป็นใบช่วยสอนที่ผู้สอนใช้ถ่ายทอดความรู้ และทักษะในการ
ปฏิบัติงานให้ผู้เรียนได้ศึกษาและปฏิบัติตามลำดับขั้นตอน
จนเกิดความรู้ ทักษะ และกิจนิสัย สอดคล้องตรงตาม
จุดประสงค์ของหลักสูตร
ส่วนประกอบ
- ชื่อเรื่อง - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
- เครื่องมือและอุปกรณ์ - วัสดุ
- ลำดับขั้นการปฏิบัติงาน - ภาพประกอบ (ถ้ามี)
- ข้อเสนอแนะ/ควรระวัง
N. PAITOON
ใบงาน (JOB SHEET)
เป็นใบช่วยสอนที่ผู้สอนใช้ตรวจสอบความรู้ และทักษะของ ผู้เรียน โดยอาจให้ผู้เรียนได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติจนเกิดความรู้ ทักษะ และกิจนิสัย ตรงตามจุดประสงค์ของหลักสูตร
ส่วนประกอบ
- ชื่อเรื่อง - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
- แบบฝึกหัด หรือ - กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
- เวลา..........นาที - ขั้นการปฏิบัติ (คำสั่ง)
- ข้อเสนอแนะ
N. PAITOON
ใบงาน (JOB SHEET)
เป็นใบช่วยสอนที่ผู้สอนใช้ถ่ายทอดความรู้ และทักษะโดย
ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและปฏิบัติตามจนเกิด
ความรู้ ทักษะและกิจนิสัย ตรงตามจุดประสงค์ของหลักสูตร
ส่วนประกอบ
- ชื่อเรื่อง - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
- หัวข้อเรื่องศึกษาค้นคว้า - ระยะเวลาส่งงาน
- ลำดับขั้นการปฏิบัติ - เอกสาร/รายงาน (ถ้ามี)
- ข้อเสนอแนะ/ควรระวัง
N. PAITOON
หมายถึง วัสดุสิ่งพิมพ์ที่ครูผู้สอนใช้มอบงานเพื่อวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนพึงได้รับ ว่ามีคุณภาพบรรลุตามเป้าหมายหรือตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่เพียงไร ใบมอบหมายงานนี้สามารถทำในรูปของการทดสอบภาคทฤษฎีระหว่างเรียน หรือท้ายหน่วยเรียนที่เป็นข้อสอบวัดความรู้ทักษะ และหรือภาคปฏิบัติในรูปของภาระงาน การผลิต และการจัดทำชิ้นงาน
N. PAITOON
ใบมอบหมายงาน (ASSIGNMENT SHEET)
เป็นใบช่วยสอนที่ระบุชื่องาน และรายละเอียดของงาน
ที่ต้องการให้ผู้เรียนปฏิบัติ โดยนำความรู้ ทักษะที่ได้
ศึกษาไปแล้วมาประยุกต์ใช้
ส่วนประกอบ
- ชื่องาน (แบบทดสอบ,ภาระงาน,ชิ้นงาน)
- จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
- แนวทางการปฏิบัติงาน
- กำหนดเวลาส่งงาน
- แหล่งข้อมูลค้นคว้าเพิ่มเติม
- การวัดประเมินผล
N. PAITOON
ตารางการวิเคราะห์ขั้นตอนการปฏิบัติงาน วิชา.............................
เรื่อง.....................................................เวลา...........ชั่วโมง

ลำดับขั้นการปฏิบัติ เกณฑ์การปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ ความรู้ที่ใช้ ทักษะที่ใช้
N. PAITOON
ใบมอบหมายงาน ที่ 4.1
ชื่องาน ...........................................(ภาระงาน,ชิ้นงาน)
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. ......... 2. ......... 3. ............
4.ประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ.........
- แนวทางการปฏิบัติงาน
1. ........ 2. ........ 3. ........ 4. ......... 5. ............
6. ให้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - กำหนดเวลาส่งงาน.....................
การวัดประเมินผล
เครื่องมือ และเกณฑ์การประเมิน
N. PAITOON
แนวทางการทำแบบประเมิน.........
หัวข้อประเมิน คำอธิบายคุณภาพ ระดับ
1. ความสามารถใน
การปฏิบัติงาน
1.1 ................. ....................................... 4-1
1.2 ................. ....................................... 4-1
2. คุณภาพผลงาน
2.1 ................ .....................................
2.2 ................ .....................................
3. พฤติกรรมและ
การบูรณาการ
N. PAITOON
107
หัวข้อสำคัญที่ต้องประเมินทักษะปฏิบัติ
หัวข้อสำคัญที่ต้องประเมิน
ความสามารถในการปฏิบัติงาน
การเตรียมการ
การใช้เครื่องมือ
ขั้นตอนการ
ทำงาน
ท่าทางความ
คล่องแคล่ว
1
คุณภาพผลงาน
ความถูกต้อง
สมบูรณ์
ความสวยงาม
ความเรียบร้อย
ความประณีต
2
พฤติกรรมและการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
ความรับผิดชอบ
ความปลอดภัย
ความสะอาด
การบูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3
N. PAITOON
N. PAITOON
7. หลักฐานการเรียนรู้
1. เป็นการนำจุดประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหาสาระ มากำหนด
เป็นหลักฐาน การแสดงออกของผู้เรียนทั้งในเรื่องของความรู้
ทักษะ กระบวนการ ผลงาน รวมทั้งกิจนิสัยในการทำงาน
โดยออกแบบการประเมินผลการเรียนรู้ให้ครบทุก Concept
2. จัดกลุ่มหลักฐานการแสดงออกของผู้เรียนให้เป็นไปตามลำดับ
เพื่อไม่ให้เกิดการทับซ้อน และเหมาะสมกับการนำไปจัดการ
เรียนรู้
N. PAITOON
N. PAITOON
ชนิดและลักษณะของหลักฐานการเรียนรู้
1. หลักฐานความรู้ เช่น แบบทดสอบ งานที่มอบหมาย
แบบฝึกหัด เอกสารและหรือรายงานทางวิชาการอื่น ๆ เป็นต้น
2. หลักฐานการปฏิบัติงาน เช่น ชิ้นงาน ภาระงานและพฤติกรรม
ที่แสดงถึงการบรรลุผลสำเร็จรวมทั้งเกณฑ์ที่จะประเมิน
3. การจัดประเมินผลทั้งข้อ 1 และ 2 ต้องเป็นการจัดประเมินผล
ตามสภาพจริงตลอดเวลาของการจัดการเรียนรู้
N. PAITOON
N. PAITOON
5. กิจกรรมการเรียนรู้
หมายถึง การจัดประสบการณ์หรือกิจกรรมต่างๆ
ที่ผู้สอนได้จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และหรือปฏิบัติเพื่อให้สามารถบรรลุผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้
N. PAITOON
N. PAITOON
องค์ประกอบที่ควรคำนึงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

1) เลือกวิธีสอนที่ตรงกับความรู้ ความสามารถและความถนัด
2) ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญใช้กิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ
3) ควรจัดให้สอดคล้องกับธรรมชาติวิชานั้น ๆ
4) จัดให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
5) เลือกวิธีสอนและสื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของแต่ละเนื้อหา
6) ควรเขียนกิจกรรมการเรียนรู้ให้ชัดเจน เหมาะสมกับเวลา
และสถานที่
N. PAITOON
112
ให้ความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิด
หลักการ
เงื่อนไข
เป้า
ประสงค์
ทางสายกลาง
แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ
ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกัน
ในตัวที่ดี
ความรู้
คุณธรรม
ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง
ซื่อสัตย์สุจริต อดทนเพียร มีสติ ปัญญา
สร้างสมดุล/มั่นคง/เป็นธรรม/ยั่งยืน
พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน
ทั้งด้านเศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม
N. PAITOON
N. PAITOON
มาตรฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
ช่วงชั้นที่ 4 เตรียมคนให้เป็นคนที่ดี สามารถทำประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติได้ โดยเน้นเข้าใจความพอเพียงระดับประเทศและการพัฒนาประเทศภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ เช่น การวิเคราะห์สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศ หรือการศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อม สภาพปัญหาด้านสังคมเป็นอย่างไร เป็นต้น
N. PAITOON
N. PAITOON
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่สอดคล้องหลักเศรษฐกิจพอเพียง
- พอประมาณกับศักยภาพของผู้เรียน พอประมาณกับภูมิสังคม
ของโรงเรียนและชุมชนที่ตั้ง ฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็นอย่างมีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันในด้านต่าง ๆ โดยการดำเนินกิจกรรมต้องนำไปสู่ความยั่งยืนของผล
- ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความรู้อย่างรอบคอบ ระมัดระวัง ฝึกการทำงานร่วมกับผู้อื่น อดทน มีความเพียร มีวินัย มีสัมมาคารวะ รู้จักทำประโยชน์ให้กับสังคม ร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และสืบสานวัฒนธรรมไทย
N. PAITOON
ตัวอย่างการออกแบบการจัดการเรียนรู้
โครงการ
ผลิตผัก
ความรู้+ทักษะ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภท ชนิด และการวางแผนการปลูก
การเลือก เตรียม ใช้เครื่องมืออุปกรณ์
การปลูก ดูแลรักษา เก็บเกี่ยว
การตลาดและจำหน่าย
คุณธรรม
ขยัน ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย
มีความรับผิดชอบ
สามารถทำงานร่วมกัน
มีเหตุผล
พอประมาณ
ภูมิคุ้มกัน
5. ลดความเสี่ยงในงาน
6. ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. เลือกผลิตผักตาม
ความต้องการตลาด
2. เตรียมพื้นที่ พันธุ์ผัก วัสดุอุปกรณ์ เหมาะสมกับงาน
3. วางแผนการผลิตตามปัจจัยการผลิต
4. ปฏิบัติงานตามแผน
สังคม
เศรษฐกิจ
วัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อม
1, 5, 6
1, 2, 3, 4
6
5, 6
N. PAITOON
การวิเคราะห์ขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิชา....................................หน่วยที่.......ชื่อหน่วย...................................................
หัวข้อเรื่อง/งาน/ชิ้นงาน..................................................เวลา...........ชั่วโมง


พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดี ความรู้ คุณธรรม
คำนึงถึงผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
ขั้นตอนการปฏิบัติ
ขั้นเตรียม
1.
2.
ขั้นปฏิบัติ
1.
2.
ผลลัพธ์
N. PAITOON
N. PAITOON
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
1
ขั้นนำ
ขั้นกิจกรรม
ขั้นวิเคราะห์ / อภิปราย
ขั้นสรุปแนะนำไปใช้
ขั้นนำ
ขั้นสอน
ขั้นสรุป
นำเข้าสู่บทเรียน
ปฏิบัติการสอน
N. PAITOON
N. PAITOON
การนำเข้าสู่บทเรียนทำได้หลายวิธี ดังนี้
1. การเล่าเรื่องเหตุการณ์ หรือนิทานต่าง ๆ ที่สามารถอุปมาอุปมัยมายังเรื่องที่จะถ่ายทอด หรือเหตุการณ์ที่เล่านี้อาจเป็นเรื่องเด่นหรืออยู่ในความสนใจของคนทั่วไป
2. การใช้สื่อและอุปกรณ์การสอน เช่น ของจริง
แผนที่ รูปภาพ ฯลฯ ประกอบกับการใช้คำถามเพื่อ
สรุปคำตอบของผู้เรียนให้สัมพันธ์กับบทเรียนใหม่
N. PAITOON
N. PAITOON
3. การตั้งประเด็นปัญหา เพื่อเร้าความสนใจของ
ผู้เรียนให้คิดหาคำตอบหรือเน้นการสนทนา เพื่อชักจูง
คำตอบไปสู่บทสรุปที่ตรงกับเรื่องที่จะถ่ายทอด หรือ
สนทนาซักถามบทเรียนเดิมในลักษณะของการทบทวน
เพื่อเชื่อมโยงไปสู่บทเรียนใหม่
4. การแสดงบทบาทสมมติหรือการเล่นเกม โดย
มีบทสรุปที่เชื่อมต่อไปยังเนื้อหาที่จะถ่ายทอด
N. PAITOON
N. PAITOON
กระบวนการสอน CIPPA Model
 ขั้นนำ
 ขั้นกิจกรรม
- สร้างความรู้ด้วยตนเอง Construct ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- มีปฏิสัมพันธ์ช่วยกันเรียนรู้ Interaction
- มีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ด้วยตนเอง Participation
- ได้เรียนรู้กระบวนการ Process ควบคู่กับผลงาน Product
- นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ Application
 ขั้นวิเคราะห์
 ขั้นสรุปและประเมินผล
N. PAITOON
N. PAITOON
กระบวนการสอน MIAP Model
ขั้นสนใจปัญหา - นำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้สถานการณ์ คำถาม
(Motivation) สื่อและอุปกรณ์ประกอบ
ขั้นให้เนื้อหา - บรรยาย สาธิต และมอบหมายงาน(Information) - ให้ความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- ให้เรียนรู้จากสื่อและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
ขั้นพยายาม - ให้ผู้เรียนทดสอบความสามารถ ด้วยการ
(Application) พยายามทำ ฝึกหัด แบบฝึกหัด
ขั้นสำเร็จผล - ตรวจสอบผลงานในการเรียนรู้
(Progress)
N. PAITOON
N. PAITOON
8. การวัดประเมินผล
เป็นกระบวนการตัดสินคุณค่าของวัตถุ เหตุการณ์หรือบุคคล โดยวิเคราะห์จากข้อมูลที่กำหนด ทั้งนี้โดยอาศัยเครื่องมือหลาย ๆ ประเภท เช่น แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบประเมินผลงานและแบบประเมินอื่นๆ ตามขอบข่ายภาระงาน ซึ่งสามารถเลือกใช้ให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการสอบวัดนั้นๆ โดยขึ้นอยู่กับธรรมชาติของงาน ที่กำหนดเป็นตัวแทนความรู้ ทักษะ และเจตคติ
N. PAITOON
ประเภทการประเมินตามสภาพจริง
เป็นการประเมินด้วยข้อสอบที่สร้างขึ้น
และได้มีการทดลองใช้จนเป็นที่เชื่อถือ สำหรับใช้ประเมินองค์ความรู้ของผู้เรียน
การประเมินอย่างเป็นทางการ
N. PAITOON
เป็นการประเมินที่เน้นตามสภาพความ
เป็นจริงของผู้เรียนในขณะปฏิบัติงานจะเน้นการประเมิน 3 ด้านคือ
บุคลิกภาพ (Performance)
กระบวนการ (Process)
ผลผลิต (Products)
การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ
N. PAITOON
ภาคความรู้(ทฤษฎี) เครื่องมือที่ใช้
คือแบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์
ภาคทักษะ(ปฏิบัติ) เครื่องมือที่ใช้
คือแบบสังเกต แบบตรวจสอบรายการ
แบบประเมินการปฏิบัติ แบบจัดอันดับ
เครื่องมือวัดแยกตามประเภทที่ใช้
N. PAITOON
N. PAITOON
แสดงการกระทำในการเขียน
หน่วยสมรรถนะ

ตัวอย่าง
การเขียนคำกริยา
23
N. PAITOON
N. PAITOON
ตัวอย่างคำกริยา งานการจัดการและควบคุมดูแล
หน่วยสมรรถนะ หน่วยย่อย
ให้คำปรึกษา ประเมิน กำหนด ควบคุม ดำเนินการ ติดต่อ
ประสาน วินิจฉัย ร่างงาน จัดตั้ง ทำประมาณการ ระบุ เข้าร่วม
แปลความ ตีความ จัดการ บำรุงรักษา ตรวจติดตาม กำกับดูแล
ปฏิบัติงาน วางแผน จัดเตรียม ควบคุมดูแล ทำกำหนดการ
เปรียบเทียบ หาค่า กำหนดค่า ประเมิน กำหนด ประสาน ระบุ ควบคุม ดำเนินการ ติดต่อ ร่างงานร่างข้อความ เขียน ประมาณค่า แปลความ ตรวจติดตาม กำกับดูแล เข้าร่วม ปฏิบัติงาน ดูแลรักษา จัดเตรียม ทำกำหนดการ แสดง
N. PAITOON
N. PAITOON
ตัวอย่างคำกริยา งานจัดการระบบสารสนเทศ
หน่วยสมรรถนะ หน่วยย่อย
วิเคราะห์ ตรวจสอบ คำนวณ ตรวจเช็ก รวบรวม เรียบเรียง วินิจฉัย ทำบัญชีรายการ กำหนด หา จัดหา สังเกตการณ์ พิสูจน์ รับรอง ทบทวน ทำให้ใช้การได้
ทวนสอบ ให้คำปรึกษา
คำนวณ ตรวจเช็ก ตรวจสอบ วัด ดำเนินการ นับ รวบรวม จัดหา หาสาเหตุ กำหนด พิสูจน์ รับรอง ทบทวน ทำให้ใช้ได้ ทวนสอบ
N. PAITOON
N. PAITOON
ตัวอย่างคำกริยา งานพิจารณาตัดสินใจ
หน่วยสมรรถนะ หน่วยย่อย
อนุมัติ รับรอง เปรียบเทียบ ตัดสิน หาค่า กำหนดค่า ประมาณค่า ประเมินค่า
พิจารณาตัดสิน เทียบส่วน
เทียบคุณค่า ทดสอบ
เปรียบเทียบ ดำเนินการ ตัดสิน หาค่า กำหนดค่า ประมาณค่า เทียบส่วน เทียบคุณค่า ทดสอบ
N. PAITOON
N. PAITOON
ตัวอย่างคำกริยา งานผลิตและการควบคุม
หน่วยสมรรถนะ หน่วยย่อย
ใช้ จัด จัดเรียง ติด ประกอบ ออกแบบ เขียนแบบ พัฒนา ถอดประกอบ ถอดแยก จำหน่าย จ่าย ตัดต่อ ตรวจแก้ไข ปรับฟิต ซ่อม ติดตั้ง เจียระไน ชี้แจง สอน ใส่ บรรจุ ทำ ผลิต สร้าง ถอด ย้าย บำรุงรักษา เปลี่ยน เลือก ปรับตั้ง คัดแยก พิมพ์ เชื่อม เขียน คัดลอก
ใช้ จัด จัดเรียง ติด เขียนแบบ ถอดประกอบ ถอดแยก จ่าย จำหน่าย ตัดต่อ ตรวจแก้ไข จัดแฟ้ม ประกอบ ปรับฟิต เจียระไน ชี้แจง สอน บรรจุ ทำ ดำเนินการ รับรองยืนยัน ถอด ย้าย ใส่ ใส่แทน เปลี่ยน ทำกำหนดการ เลือก บัดกรี จัดตั้ง ปรับแต่ง คัดแยก ส่งมอบ คัดลอก พิมพ์ เชื่อม เขียน
N. PAITOON
N. PAITOON
แนวปฏิบัติที่แอบคิด . . .
ไปสู่การปฏิบัติจริง
N. PAITOON
N. PAITOON
ตัวอย่างวิชาธุรกิจทั่วไป
ชื่อหน่วย 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ
2. ประเภทและรูปแบบขององค์การธุรกิจ
3. การจัดการองค์การธุรกิจ
4. การใช้เทคโนโลยีในการประกอบธุรกิจ
5. จรรยาบรรณและคุณลักษณะของผู้ประกอบการ
6. ระบบการแลกเปลี่ยน
7. แหล่งเงินทุน
N. PAITOON
N. PAITOON
สาระสำคัญ
เทคโนโลยีเป็นเรื่องจำเป็นในการดำเนินธุรกิจ________
_________________________________________________
________ ดังนั้น ผู้ประกอบการจะต้องนำแนวหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้โดยการดำเนินกิจการโดยเลือกใช้
เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจของตนซึ่งถือเป็นการ
รับผิดชอบต่อเศรษฐกิจและสังคม โดยรวมอันจะมีผลทำให้
ธุรกิจนั้นมีความยั่งยืนต่อไป
N. PAITOON
N. PAITOON
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. __________________________________________
2. __________________________________________
3. __________________________________________
4. น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการ
เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับธุรกิจโดยคำนึงถึง
ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น
จุดประสงค์ทั่วไป
N. PAITOON
N. PAITOON
1. __________________________________________
2. __________________________________________
3. __________________________________________
4. __________________________________________
5. ประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปในการ
เลือกใช้เทคโนโลยีเหมาะสมกับชนิดของธุรกิจ
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
N. PAITOON
N. PAITOON
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ (MOTIVATION)
เทคโนโลยีเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในการดำเนินธุรกิจ การ
แข่งขัน และการสื่อสารดังนั้นทุกฝ่ายจึงควรหันมาตระหนักถึง
ความจำเป็นในเลือกใช้เทคโนโลยีที่ดีที่เหมาะสมโดยการน้อม
นำเอาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เพื่อการ_________
________________________________________________
N. PAITOON
N. PAITOON
1. บรรยาย ด้วยใบความรู้ที่ ... เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. บรรยายเนื้อหาความรู้ ด้วยใบความรู้ที่ ... เรื่อง .....................
3. สาธิต ด้วยใบงานที่ ... เรื่อง ....................................................
ขั้นพยายาม (APPLICATION)
3. ใช้ใบงาน หรือใบมอบหมายงานเพื่อการปฏิบัติหรือจัดทำหรือการบริการหรือการผลิต หรือการวางแผน หรือการกำหนด โดยให้บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในทุก ๆ ด้าน ดังนี้
- พอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
- เงื่อนไขความรู้ / คุณธรรม และผลกระทบที่เกิดขึ้น

ขั้นให้เนื้อหา (INFORMATION)
N. PAITOON
N. PAITOON
1. ตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธี............
2. ร่วมกันสรุปการปฏิบัติ..หรือการจัดทำ..หรือบริการ...
หรือการผลิต...หรือการวางแผน..หรือการกำหนด โดย
บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปใช้
ด้วยวิธีการใดและเกิดผลกระทบอย่างไรบ้าง
3. ประเมินผลสำเร็จของผู้เรียนจากการภาระงาน หรือ
ชิ้นงาน โดยอาจให้มีการนำเสนอในรูปของเอกสาร
รายงานการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นผลสำเร็จ (PROGRESS)
N. PAITOON
N. PAITOON
การวัดประเมินผล
1. แบบประเมินการเลือกใช้เทคโนโลยีในลักษณะของ
การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะ
ลูกจ้างที่ดีโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม
2. แบบนำเสนอให้เห็นถึงความสำคัญหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงเมื่อธุรกิจนำมาบูรณาการกับ
การเลือกใช้เทคโนโลยีแล้วจะได้ประโยชน์ต่อองค์กร
เศรษฐกิจและสังคมอย่างไร
N. PAITOON
N. PAITOON
กระบวนการสอน CIPPA Model
 ขั้นนำ
1.แจ้งจุดประสงค์และวิธีการเรียนรู้ประจำหน่วย
2.นำเข้าสู่หน่วยการเรียนโดย................................................
 ขั้นกิจกรรม
- Construct
3.ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน โดยมอบหมายให้ศึกษาตาม
ใบความรู้ ที่.... เรื่อง.......................................
4.มอบหมายใบงาน ที่... ให้ทุกคนสรุปองค์ความรู้ เรื่อง................
จากใบความรู้ข้างต้นตามหัวข้อ ดังนี้
4.1 ........................
4.2 ........................
4.3 ........................
N. PAITOON
N. PAITOON
5.ใช้ใบมอบหมายงานที่....ให้ผู้เรียนทุกคนไปศึกษาค้นคว้าเรื่องหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมนำส่งในรูปของรายงานอย่าง
สมบูรณ์
6.ร่วมกันสรุปองค์ความรู้เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่
ได้รับ และการนำไปประยุกต์ใช้ในงาน และชีวิตประจำวัน
- Interaction
- Participation
- Process - Product
7.ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันคิดวิเคราะห์วางแผนปฏิบัติการ/จัดทำ.........
ตามที่กำหนด หรือตามความสนใจ โดยใช้ใบมอบหมายงานที่....
เรื่อง .......... โดยบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
N. PAITOON
N. PAITOON
- Application
8.มอบหมายใบงานที่...ให้ผู้เรียนทุกคนสรุปผลการนำความรู้เรื่อง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ได้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
 ขั้นวิเคราะห์
9.ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสรุปขั้นตอนการปฏิบัติ/จัดทำ.............และ
การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้
10.สังเกตและบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม
และแต่ละคน
ขั้นสรุปและประเมินผล
11.ให้แต่ละคน/กลุ่มแสดงผลการเรียนรู้โดยการ...... พร้อมร่วมกัน
สรุป และประเมินการปฏิบัติ/จัดทำ.......โดยให้ความสำคัญกับ

ตัวอย่างนวัตกรรมทางการศึกษา

ตัวอย่างนวัตกรรมทางการศึกษา
ดร.เกรียงศักดิ์ สุวรรณวัจน์
กลุ่มงานวัดและประเมินผลการศึกษา
กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1
นวัตกรรม
จะทำเพื่อใคร
จะทำอะไร
จะทำอย่างไร
จะมีรายละเอียดขั้นตอนเช่นไร
จะนำเสนอผลที่เป็นข้อค้นพบได้อย่างไร
จะเขียนรายงานการใช้นวัตกรรมอย่างไร
จะเผยแพร่การใช้นวัตกรรมด้วยวิธีใด
กรอบแนวคิดการผลิต “นวัตกรรม” เป็นผลงาน
รับฟังการชี้แนะ
ศึกษา/วิเคราะห์/หาข้อสรุป
ศึกษาลักษณะนวัตกรรม
ยกร่างนวัตกรรม/สร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ตรวจสอบ/พัฒนาคุณภาพ
เลือก/สุ่มกลุ่มตัวอย่างที่จะใช้นวัตกรรม
เก็บรวบรวม/วิเคราะห์/แปลผลข้อมูล
สรุปเขียนรายงานการใช้นวัตกรรม
นวัตกรรมเชิงพัฒนา นวัตกรรมเชิงวิจัยและพัฒนา
ขั้นลอกเลียนแบบ
ขั้นการพัฒนา
ขั้นการนำไปปฏิบัติ
ขั้นการศึกษา
ขั้นการประดิษฐ์คิดค้น
ขั้นการพัฒนา
ขั้นการปฏิบัติ


การสำรวจภาษาที่ใช้สำหรับวัยรุ่นยุคใหม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน............................................
ขั้นตอน 1 กำหนดขอบเขต
ขั้นตอน 2 ระบุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย
ขั้นตอน 3 ทำการสำรวจ
ขั้นตอน 4 จัดหมวดหมู่คำ/ข้อความ/สำนวน
ขั้นตอน 5 สร้างพจนานุกรมภาษาวัยรุ่น
ขั้นตอน 6 นำเสนอ/จัดนิทรรศการ
ครู+นักเรียน วางแผนกำหนดขอบเขต/วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
นักเรียน แบ่งกลุ่มเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล


เอกสารประกอบการสอน สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา “การออกกำลังกายที่ยั่งยืน”สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกกำลังกาย
หน่วยที่ 2 คุณค่าของการออกกำลังกาย
หน่วยที่ 3 การออกกำลังกายเฉพาะบุคคล
หน่วยที่ 4 ความรู้ด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการออกกำลังกาย
หนังสืออีเลคโทรนิคส์ “ของดีเมืองพิจิตร” สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
เล่มที่ 1 หลวงพ่อเพชร
เล่มที่ 2 พระเครื่องเมืองพิจิตร
เล่มที่ 3 ประเพณีการแข่งเรือยาว
เล่มที่ 4 ส้มโอท่าข่อย
เล่มที่ 5 ตำนานพญาชาละวัน
เล่มที่ 6 อิทธิฤทธิ์หลวงพ่อเงิน เทพเจ้าวัดบางคลาน

หนังสืออีเลคโทรนิคส์ “อุทยานเมืองเพชรบูรณ์” สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
เล่มที่ 1 อุทยานแห่งชาติเขาค้อ
เล่มที่ 2 อุทยานแห่งชาติตาดหมอก
เล่มที่ 3 อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว
เล่มที่ 4 อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง
เล่มที่ 5 อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ

หนังสืออีเลคโทรนิคส์ “เพชรบูรณ์เมืองน่าอยู่” สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
เล่มที่ 1 เมืองมะขามหวาน
เล่มที่ 2 อุทยานน้ำหนาว
เล่มที่ 3 ศรีเทพเมืองเก่า
เล่มที่ 4 เขาค้ออนุสรณ์
เล่มที่ 5 นครพ่อขุนผาเมือง

คู่มือการจัดการเรียนรู้ ประเพณี วัฒนธรรมในท้องถิ่นด้วยโครงงาน สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
องค์ประกอบหลัก
ตอนที่ 1 ประเพณีและวัฒนธรรมในท้องถิ่น
ตอนที่ 2 การจัดการเรียนการสอนด้วยโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
ลักษณะของโครงงาน
ขั้นตอนการสอนด้วยโครงงาน
ตอนที่ 3 การดำเนินการจัดทำโครงงานของนักเรียน
ตอนที่ 4 การรายงานและจัดนิทรรศการผลสำเร็จของโครงงาน

เอกสารประกอบการเรียน “อัญมณีของดีแห่งแม่สอด” สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อัญมณีที่มีชื่อของแม่สอด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะของอัญมณี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แหล่งอัญมณี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การทำเครื่องประดับจากอัญมณี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 อาชีพช่างทำเครื่องประดับจากอัญมณี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การเปิดร้านจำหน่ายเครื่องประดับจากอัญมณี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การจัดทำบัญชีรายรับรายจ่าย

แบบฝึกประกอบเกมพัฒนาการอ่านและเขียนคำยาก สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
แบบฝึกที่ 1 คำนาม
แบบฝึกที่ 2 คำสรรพนาม
แบบฝึกที่ 3 คำกริยา
แบบฝึกที่ 4 คำวิเศษณ์
แบบฝึกที่ 5 คำบุพบท
แบบฝึกที่ 6 คำสันขวาน
แบบฝึกที่ 7 คำอุทาน

เทคนิคการสอนแบบ 4 W 1H เพื่อพัฒนาการอ่านและการเขียน สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
ขั้นตอนที่ 1 เลือกประเด็น/สาระการอ่าน
ขั้นตอนที่ 2 อธิบายความหมาย 4 W 1H
Who / What /When/Where/How
ขั้นตอนที่ 3 สร้าง Concept ด้วย Mind mapping
ขั้นตอนที่ 4 สรุปประเด็น/สาระการอ่าน
ขั้นตอนที่ 5 เขียน/นำเสนอด้วยภาษาของตนเอง

เทคนิคการสอนประกอบแบบฝึกการแก้โจทย์ปัญหา สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
ขั้นตอนที่ 1 ทำตามตัวอย่าง (Example)
ขั้นตอนที่ 2 ร่วมเรียนรู้ (Participation)
ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ด้วยตนเอง (Analysis)
ขั้นตอนที่ 4 ฝึกสร้างโจทย์ปัญหา (Practice)
ขั้นตอนที่ 5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Sharing)
เทคนิคการสอนแบบ EPAPS (อีพแอพส์)

หนังสือส่งเสริมการอ่านประกอบสื่อมัลติมีเดีย “ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยรัตนโกสินทร์” สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
บทที่ 1 ประวัติศาสตร์ไทย : ก่อนสมัยสุโขทัย
บทที่ 2 ประวัติศาสตร์ไทย : สมัยสุโขทัย
บทที่ 3 ประวัติศาสตร์ไทย : สมัยอยุธยา
บทที่ 4 ประวัติศาสตร์ไทย : สมัยธนบุรี

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบสื่อ VCD “รำวงมาตรฐาน”สาระการเรียนรู้ดนตรีนาฏศิลป์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางนาฏศิลป์
บทที่ 2 นาฏศิลป์ไทย
บทที่ 3 รำวงมาตรฐาน
บทที่ 4 ดนตรีประกอบการรำวงมาตรฐาน
บทที่ 5 เครื่องแต่งกายประกอบการรำวงมาตรฐาน

หนังสืออีเลคโทรนิคส์ ส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
เล่มที่ 1 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 2 สถานที่น่าประทับใจ
เล่มที่ 3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เล่มที่ 4 แคดเมี่ยม
เล่มที่ 5 ตลาดริมเมย
เล่มที่ 6 แม่น้ำเมย
เล่มที่ 7 อัญมณี
เล่มที่ 8 รีสอร์ท

หนังสืออ่านประกอบ “มหาราชดำ” สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
บทที่ 1 กำเนิดองค์ดำ
บทที่ 2 ประกาศอิสรภาพ
บทที่ 3 วีรกรรมมหาราชดำ
บทที่ 4 การทำยุทธหัตถี
บทที่ 5 บั้นปลายพระชนม์ชีพ

ชุดกิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง “เศรษฐศาสตร์” สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
บทที่ 1 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป
บทที่ 2 เศรษฐกิจของประเทศไทย
บทที่ 3 เศรษฐกิจครอบครัว
บทที่ 4 เศรษฐกิจพอเพียง

แนวทางการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักเรียน สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษา วิเคราะห์ จำแนกจริยธรรม
ขั้นตอนที่ 2 กิจกรรมสร้างความตระหนัก
ขั้นตอนที่ 3 กิจกรรมประเมินค่า
ขั้นตอนที่ 4 กิจกรรมทำตามแบบอย่าง
ขั้นตอนที่ 5 กิจกรรมทำตามจิตสำนึกแห่งตน
หน่วยที่ 1 จริยธรรมในตน
หน่วยที่ 2 จริยธรรมเชิงปฏิสัมพันธ์ต่อผู้อื่น
หน่วยที่ 3 จริยธรรมต่อสังคม
หน่วยที่ 4 จริยธรรมต่อสถาบัน

เทคนิคการสอนแบบปฏิบัติจริง “ดนตรีไทยสำหรับเยาวชน” สาระการเรียนรู้ดนตรีนาฏศิลป์ สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับดนตรีไทย
หน่วยที่ 2 การเล่นดนตรีไทย
หน่วยย่อยที่ 1 ซออู้
หน่วยย่อยที่ 2 ซอด้วง
หน่วยย่อยที่ 3 ระนาด
หน่วยย่อยที่ 4 ฆ้องวง
หน่วยย่อยที่ 5 จะเข้
หน่วยย่อยที่ 6 ขิม
หน่วยที่ 3 การบรรเลงเพลงไทยเดิม

เอกสารประกอบสื่อมัลติมีเดีย “การขยายพันธุ์พืช” สาระการเรียนรู้การงานละอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
หน่วยที่ 1 พืช
หน่วยที่ 2 การขยายพันธุ์พืช ตอนที่ 1
หน่วยย่อยที่ 1 การตอนกิ่ง
หน่วยย่อยที่ 2 การติดตา
หน่วยย่อยที่ 3 การทาบกิ่ง
หน่วยย่อยที่ 4 การเสียบยอด
หน่วยย่อยที่ 5 การเสริมราก
หน่วยที่ 3 การขยายพันธุ์พืช ตอนที่ 2

ชุดกิจกรรมประกอบสื่อมัลติมีเดีย “คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ” สาระการเรียนรู้การงานและอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
ชุดกิจกรรมที่ 1 การทำงานของคอมพิวเตอร์
ชุดกิจกรรมที่ 2 hardware & software
ชุดกิจกรรมที่ 3 ประเภทและชนิดของคอมพิวเตอร์
ชุดกิจกรรมที่ 4 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ชุดกิจกรรมที่ 5 เทคโนโยลีสารสนเทศ
ชุดกิจกรรมที่ 6 Microsoft Internet
ชุดกิจกรรมที่ 7 Microsoft Word
ชุดกิจกรรมที่ 8 Microsoft Powerpoint

หนังสืออ่านเพิ่มเติม “มหาราชไทย” สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
บทที่ 1 พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
บทที่ 2 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
บทที่ 3 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
บทที่ 4 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
บทที่ 5 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
บทที่ 6 พระปิยมหาราช
บทที่ 7 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช

เอกสารประกอบการเรียน “ยางพารา : พืชเศรษฐกิจไทย” สาระการเรียนรู้การงานและอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่ 2 การปลูกและขยายพันธุ์ยางพารา
บทที่ 3 การกรีดยาง
บทที่ 4 การผลิตยางแผ่นรมควัน/ยางแท่ง
บทที่ 5 อุตสาหกรรมยางพารา
บทที่ 6 ผลิตภัณฑ์จากยางพารา

เอกสารประกอบสื่อมัลติมีเดีย “จิตรกรรม-ประติมากรรม” สาระการเรียนรู้ศิลปะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
ส่วนที่ 1 จิตรกรรม
ความหมายของจิตรกรรม
ประวัติความเป็นมาของจิตรกรรม
ความรู้เบื้องต้น (องค์ประกอบ/วัสดุอุปกรณ์/วิธีการ)
ประเภทของจิตรกรรม
หลักการที่เกี่ยวข้องกับจิตรกรรม
คุณค่าของงานเขียน
ส่วนที่ 2 ประติมากรรม

คู่มือการเรียนรู้ “กฎหมายเบื้องต้นสำหรับประชาชน” สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
หน่วยที่ 1 กฎหมาย
หน่วยที่ 2 กฎหมายที่ควรรู้
หน่วยที่ 3 สาระสำคัญกฎหมายที่ประชาชนควรรู้
การแจ้งเกิด
การแจ้งตาย
การแจ้งย้ายที่อยู่
การเสียภาษี

ชุดฝึกงานประดิษฐ์ประกอบ PowerPoint “ประดิษฐ์ดอกไม้จากเศษวัสดุ” สาระการเรียนรู้การงานและอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
ชุดฝึกที่ 1 ความรู้พื้นฐานงานประดิษฐ์
ชุดฝึกที่ 2 ขั้นตอนการประดิษฐ์ดอกไม้ (ประกอบ PowerPoint)
ชุดฝึกย่อยที่ 1 ดอกบานเช้า
ชุดฝึกย่อยที่ 2 ดอกคาร์เนชั่น
ชุดฝึกย่อยที่ 3 ดอกทิวลิป
ชุดฝึกย่อยที่ 4 ดอกหญ้า
ชุดฝึกย่อยที่ 5 ดอกช้องนาง
ชุดฝึกที่ 3 การจำหน่ายผลงานประดิษฐ์
ชุดฝึกที่ 4 การจัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายจากการจำหน่ายผลงานประดิษฐ์

หนังสือการ์ตูนเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักเรียน สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน.....................................สำนักงาน...............................................
แนวทางดำเนินการ
ครู+นักเรียน : กำหนดคุณธรรมจริยธรรม
นักเรียน(แบ่งกลุ่ม) : เลือกคุณธรรมจริยธรรม
: สคริป+โครงสร้างหนังสือ+หนังสือการ์ตูน
คุณธรรมจริยธรรม
ความมีวินัย ความเมตตากรุณา ความกล้าหาญ
ความมีซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความพอเพียง
ความมีสามัคคี ความอดทน ความเป็นผู้นำ
สร้างหนังสือการ์ตูน จำนวน 9 เล่ม ตามคุณธรรมจริยธรรม
อบรม “การวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา หลักสูตร 36 ชั่วโมง : 6 ครั้ง : 6 อาทิตย์
เตรียมงาน : วินัย/คุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณวิชาชีพ
เตรียมงาน : สมรรถนะหลัก/สมรรถนะประจำสายงาน
การวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษา/การจัดการเรียนรู้
การสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
การเก็บรวบรวม/วิเคราะห์/ตีความ/แปลผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การเขียนรายงานการใช้นวัตกรรม
การวางแผน/วิเคราะห์ปัญหา/กำหนดหัวข้อวิจัย/ดำเนินการวิจัย/เขียนรายงานการวิจัย
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร 3,000 บาท
ณ โรงแรมน่านเจ้า พิษณุโลก เริ่มวันอาทิตย์ที่ 13 มกราคม 2551

ตัวอย่างของนวัตกรรม

ตัวอย่างของกิจกรรม(โครงการ)ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างนวัตกรรม
สามารถจัดเก็บเอกสารทางวิชาการที่มีอยู่ในสำนักงานให้อยู่ในรูปแบบของ Digital Format ให้ได้ครบถ้วน และ มีระบบที่ให้สามารถให้ผู้ใช้สามารถดึงข้อมูลจาก Website ได้สะดวกและเอื้อต่อการใช้งาน
ระยะเวลาที่คิดว่าจะแล้วเสร็จ: ภายใน 31 มค 2552
15/07/2551
โครงการ Digital Database:
กำหนดทีมงาน
ระบุประเภทเอกสารทางวิชาการที่ต้องการเก็บ
กำหนดวิธีการที่เหมาะสมในการเปลี่ยนรูปแบบของเอกสาร (Convert) ให้เป็น Digital Format
จัดหาอุปกรณ์
กำหนดเป้าหมาย
ทำการจัดเก็บเอกสาร
Post เอกสารที่สำคัญลงบน Website
ควบคุมคุณภาพ และ ติดตามผลการใช้งาน
ประเมินผล
ปรับปรุง แก้ไข และ สานต่อจนสามารถบรรลุเป้าหมาย
Product Innovation (จัดเก็บเอกสารให้อยู่ในรูปของ Digital Format แทนวิธีเดิมที่เป็นการจัดเก็บในรูปแบบของแฟ้มเอกสาร)
Process Efficiency (การจัดเก็บเอกสารในรูปแบบของ Digital Format จะทำให้การค้นหา และ ดึงข้อมูลออกมาใช้เป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น)
งานจัดเก็บเอกสารทางวิชาการ
งานตามภารกิจ (Routine Task)
ผลที่คาดหวังและระยะเวลาหวังผล
เวลาที่จะเริ่มปฏิบัติ
โครงการ และ ขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง
ประเภทของนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานนั้น
รายละเอียดของงาน
กลุ่มของงาน
ตัวอย่างของกิจกรรม(โครงการ)ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างนวัตกรรม
สามารถจัดเก็บข้อมูลด้านสภาพแวดล้อมและอาชญากรรมที่มีอยู่ในสำนักงานให้อยู่ในรูปแบบของ Digital Format ให้ได้ครบถ้วน และ มีระบบที่ให้สามารถให้ผู้ใช้สามารถดึงข้อมูล ได้สะดวกและเอื้อต่อการใช้งาน
ระยะเวลาที่คิดว่าจะแล้วเสร็จ: ภายใน 15 กค 2552
15/06/2551
โครงการ Digital Database:
กำหนดทีมงาน
ระบุประเภทของข้อมูลด้านสภาพแวดล้อม และ อาชญากรรมที่ต้องการเก็บ
กำหนดวิธีการที่เหมาะสมในการเปลี่ยนรูปแบบของเอกสาร (Convert) ให้เป็น Digital Format
จัดหาอุปกรณ์
กำหนดเป้าหมาย
ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ ทำการจัดเก็บข้อมูล
ควบคุมคุณภาพ และ ติดตามผลการใช้งาน
ประเมินผล
ปรับปรุง แก้ไข และ สานต่อจนสามารถบรรลุเป้าหมายจนครบถ้วนสมบูรณ์
Product Innovation (จัดเก็บข้อมูลด้านสภาพแวดล้อม และ อาชญากรรม ให้อยู่ในรูปของ Digital Format โดยระบุบนแผนที่จังหวัด และ อำเภอให้ชัดเจนว่าพื้นที่ใดมีปัญหาด้านสภาพแวดล้อม และ มีปัญหาเรื่องอาชญาากรรมที่สูง โดยใช้ระบบ Geographic Information System เป้นเครื่องมือ)
Process Efficiency (การจัดเก็บเอกสารในรูปแบบของ Digital Format จะทำให้การค้นหา ดึงข้อมูลออกมาใช้ และแก้ไขปัญหาเป็นไปได้รวดเร็วยิ่งขึ้น)
งานจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลด้านการพัฒนาสภาพแวดล้อม และ อาชญากรรม
งานตามประเด็นยุทธศาสตร์(Strategy Related Task)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2: ให้จังหวัดปทุมธานีเป็นเมืองที่น่าอยู่
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5: มีฐานข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์
ผลที่คาดหวังและระยะเวลาหวังผล
เวลาที่จะเริ่มปฏิบัติ
โครงการ และ ขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง
ประเภทของนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานนั้น
รายละเอียดของงาน

จุดเริ่มต้นของการศึกษา

จุดเริ่มต้นของระบบการศึกษาไทย
จุดเริ่มต้นของระบบการศึกษาไทย
ความเป็นมาของระบบการศึกษาไทยสังคมไทยเป็นสังคมที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานถึง 700 ปี ถ้านับตั้งแต่สุโขทัยเป็นราชธานี แต่เหมือนกับทุกสังคมที่เป็นสังคมเกษตรจะถูกแบ่งเป็นชนชั้นปกครองและชนชั้นใต้ปกครอง ในชนชั้นปกครองถ้าพูดอย่างกว้างๆ ก็จะมี 2 ส่วนใหญ่ๆ คือส่วนที่เป็นผู้บริหารประเทศกับผู้นำทางศาสนา ในส่วนของผู้ใต้ปกครองก็มักจะเป็นเกษตรกรหรือพ่อค้าวาณิชที่มีธุรกิจเกี่ยวกับการซื้อขายแลกเปลี่ยนในกลุ่มนักปกครองนั้นจะต้องมีทักษะพิเศษคือการรู้หนังสือเพื่อใช้ในการสื่อสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร การร่างกฎหมายและกฎระเบียบ การเก็บประวัติความเป็นมาของสังคม การรู้หนังสือจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเป็นผู้มีความรู้เพราะอ่านออกเขียนได้ และเป็นการบ่งชี้ถึงการเป็นคนที่อยู่บันไดสังคมขั้นสูง ส่วนคนที่เป็นเกษตรกรนั้นอาจจะไม่จำเป็นต้องรู้หนังสือเลยก็ได้ แต่ขณะเดียวกันพ่อค้าวาณิชที่อยู่ในชุมชนเมืองมีความจำเป็นต้องจดบันทึกสินค้าที่มีคนซื้อโดยเชื่อเงินไว้ก่อน รวมทั้งต้องมีความสามารถในการเขียนตัวเลขเพื่อบอกจำนวนของสินค้าที่ซื้อเข้ามาหรือขายออกไปการศึกษาหรือการเรียนในสังคมโบราณนั้นจึงมีความแตกต่างอย่างมากระหว่างกลุ่มชนชั้นปกครองซึ่งต้องมีความรู้ในระดับที่สูงเพื่ออ่านเอกสารที่ซับซ้อน เช่น กฎหมายต่างๆ ขณะเดียวกันผู้นำทางศาสนาก็ต้องอ่านภาษาที่เป็นนามธรรมซับซ้อนและลึกซึ้งเช่นเดียวกัน และส่วนใหญ่มักจะมาจากอารยธรรมที่เหนือกว่า ในส่วนของพ่อค้าวาณิชจุดเน้นมักจะอยู่ที่การอ่าน การเขียน และตัวเลขสังคมลักษณะเยี่ยงนี้ก็สามารถดำเนินไปได้ ประเด็นสำคัญก็คือการศึกษาที่มีอยู่ในสังคมส่วนใหญ่จะมีเฉพาะบุคคลที่เป็นชนชั้นปกครองโดยมีการสอนเป็นส่วนตัวจากผู้รู้ภายในสังคมนั้นหรือมาจากต่างถิ่น ส่วนชนชั้นล่างก็ต้องศึกษาจากสถานศาสนา เช่น การบวชเป็นพระจึงศึกษาบาลีสันสกฤตและความคิดที่เป็นนามธรรมจนสามารถอ่านออกเขียนได้ ซึ่งอาจจะนำไปสู่การศึกษาตำราพิชัยสงคราม ฯลฯโอกาสการเคลื่อนไหวทางสังคมของชนชั้นล่างจึงมีโอกาสเพียงการเติบโตได้ดิบได้ดีในองค์กรศาสนา หรือการรบทัพจับศึกจนเป็นแม่ทัพผู้แกล้วกล้า ส่วนการจะเข้ารับราชการเป็นขุนน้ำขุนนางนั้นอาจจะทำไม่ได้ง่ายนัก เพราะมีกฎเกณฑ์ที่จะต้องมีทั้งความรู้ คุณานุรูปสืบเชื้อสายเสนาบดีเพื่อจะฝากตัวเป็นมหาดเล็กฝึกหัดการทำราชการการเคลื่อนไหวทางสังคมจึงถูกปิดกั้นโดยปริยาย




แต่เนื่องจากความจำเป็นของการที่อยู่ในสังคมยุคใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการเปิดประตูประเทศในยุครัชกาลที่ 4 ในสนธิสัญญาเซอร์จอห์นบาวริ่ง การให้ความสำคัญเกี่ยวกับการศึกษาแก่ประชาชนเพื่อจะได้เป็นประชาชนที่มีคุณภาพ จึงเป็นนโยบายสำคัญของรัฐโดยล้นเกล้ารัชกาลที่ 5 ได้ทรงมีพระราชดำริให้สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสดูแลเรื่องดังกล่าวปรับเปลี่ยนวัดให้เป็นโรงเรียนเพราะเป็นสถานที่ขยายการศึกษาได้เร็วและทั่วถึงขณะเดียวกัน สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกราบบังคมทูลฯ ให้ตั้งโรงเรียนสำหรับผลิตข้าราชการ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งสถาบันการศึกษาโดยพระราชทานนามว่า"โรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการพลเรือน" ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเปลี่ยนเป็น "โรงเรียนมหาดเล็ก" จนกลายเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปัจจุบันในขณะเดียวกัน ช่วงนี้ก็มีความรู้ใหม่ๆ ไหลเข้ามาจากทางประเทศตะวันตก เช่น วิชาการแพทย์สมัยใหม่ ภาษาต่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ ฯลฯ การเข้ามาของพวกมิชชันนารีได้นำไปสู่การเกิดโรงเรียนที่สอนศาสนา พร้อมๆ กับการสอนภาษาอังกฤษและวิชาสามัญทั่วไปขึ้น บุคคลที่สำคัญที่สุดคือ ฟ. ฮีแลร์ ซึ่งเข้ามาสู่ประเทศไทยเมื่ออายุ 20 ปี และพำนักอยู่ในประเทศไทยประมาณ60 ปี ท่านผู้นี้คือผู้ซึ่งมีส่วนในการสร้างโรงเรียนมิชชันนารีสำคัญๆขณะเดียวกัน ชนชาวจีนซึ่งเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารก็ได้รวมกลุ่มกันตั้งโรงเรียนสอนภาษาจีนขึ้นทั้งใน กทม.และต่างจังหวัดทั่วประเทศไทย โรงเรียนจากมิชชันนารีและโรงเรียนจีนจึงอยู่คู่กับสถาบันการศึกษาของไทย ซึ่งเริ่มต้นความรู้ให้อ่านออกเขียนได้เลขคณิต และวิชาที่เกี่ยวข้องต่างๆในสมัยล้นเกล้ารัชกาลที่ 5 ได้มีการตั้งกระทรวงธรรมการหรือต่อมาคือกระทรวงศึกษาฯ ซึ่งดูแลเกี่ยวกับการศึกษา โดยเสนาบดีคนแรกคือกรมพระยาดำรงราชานุภาพ กระทรวงศึกษาฯ ที่ตั้งขึ้นมานั้นจุดประสงค์หลักคือการทำให้คนทั่วราชอาณาจักรสยามเรียนรู้ภาษาไทยราชการ ขณะเดียวกันก็มีการใช้หลักสูตรที่ทำให้คนเผ่าต่างๆ 50 กว่าเผ่าพันธุ์ ถูกผสมผสานกลมกลืนเป็นคนที่ใช้ภาษาเดียวกันในการเรียนการสอน สามารถสื่อสารกันได้ กระทรวงศึกษาธิการจึงเป็นกระทรวงที่ตั้งขึ้นมาเพื่อสร้างชาติ (Nation) ส่วนกระทรวงมหาดไทยเป็นการตั้งขึ้นมาเพื่อสร้างอำนาจรัฐ (State)แต่เนื่องจากโรงเรียนจีนถูกมองว่าเป็นที่เพาะลัทธิคอมมิวนิสต์รวมทั้งขัดขวางกระบวนการ


ผสมผสานกลมกลืนให้คนไทยเชื้อสายจีนรับวัฒนธรรมไทย จึงมีมาตรการจากรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามบังคับให้โรงเรียนจีนสอนภาษาจีนวันละหนึ่งชั่วโมง และถูกปิดด้วยการกระทำที่ผิดกฎระเบียบเป็นจำนวนมาก โรงเรียนจีนเหล่านั้นยังแอบสอนเกินหนึ่งชั่วโมง เมื่อเจ้าหน้าที่ไปตรวจก็มีการนัดแนะกันล่วงหน้า ในรายงานของเจ้าหน้าที่ก็มักจะลงว่า "เรียบร้อย"หมายความว่าไม่มีการทำผิดระเบียบ อันเป็นที่มาของคำว่า "เรียบร้อยโรงเรียนจีน"ในส่วนของการศึกษาขั้นมหาวิทยาลัยนั้น มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่หลังการปฏิวัติ 24 มิถุนายน 2475 ในปี 2477 ก็มีการตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น ซึ่งเป็นสถาบันที่มุ่งเน้นในการฝึกหัดผู้ที่จะรับราชการในกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ รวมทั้งการเป็นผู้พิพากษา การเป็นนายอำเภอและผู้ว่าราชการจังหวัด หรือตำรวจ กล่าวอีกนัยหนึ่งเพื่อเป็นฐานการสถาปนาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองจึงเป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นคู่แข่งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในขณะนั้น ขณะเดียวกันก็มีมหาวิทยาลัยศิริราชมหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยเกษตร ก่อนที่จะมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลาฯลฯในส่วนของโรงเรียนมัธยมโรงเรียนที่มีชื่อเสียงโด่งดังซึ่งเป็นของมิชชันนารีได้แก่ อัสสัมชัญบางรัก เซนต์คาเบรียล กรุงเทพคริสเตียน มาแตร์เดอี เซนต์โยเซฟ ฯลฯ ส่วนของรัฐได้แก่ สวนกุหลาบเทพศิรินทร์ ราชินี เป็นต้น โรงเรียนเอกชนได้แก่ อำนวยศิลป์ ไพศาลศิลป์ สารสิทธิ์ ศิริศาสตร์ ศิริทรัพย์ เป็นต้น ขณะเดียวกันก็เริ่มเกิดโรงเรียนพาณิชย์ขึ้น ที่เป็นของฝรั่งได้แก่ อัสสัมชัญพาณิชย์ (ACC)ขณะเดียวกันก็มีพาณิชย์พระนคร ตั้งตรงจิตรพณิชยการ พาณิชย์ธนบุรี นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนของเหล่าทัพและของตำรวจ

สิ่งที่พัฒนาตามมาก็คือ โรงเรียนกวดวิชาสำหรับผู้ซึ่งไม่มีเวลาเรียนตามปกติ ตามคำกล่าวของอาจารย์เพทาย อมาตยกุล ที่กล่าวว่า "โตแล้วเรียนลัดดีกว่า" โรงเรียนกวดวิชาที่ดังที่สุดคือ วัดสุทัศน์วัดมหรรณพารามวรวิหาร ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษและภาษาจีนตอนกลางคืนเพื่อเพิ่มพูนความรู้แก่ผู้ที่สนใจศึกษาด้านภาษาความต้องการเรียนหนังสือของคนรุ่นใหม่ได้นำไปสู่การเติบโตของโรงเรียนภาคเอกชน โรงเรียนพาณิชย์ต่างๆ ที่เลียนแบบอัสสัมชัญพาณิชย์เกิดขึ้นอย่างดาษดื่น จากผู้ซึ่งเคยศึกษาจากสถาบันดังกล่าวและเริ่มเกิดวิทยาลัยเอกชน ได้แก่ วิทยาลัยกรุงเทพวิทยาลัยหอการค้า ฯลฯ ก่อนจะเป็นมหาวิทยาลัยวิวัฒนาการการศึกษาของไทยก่อนสงครามโลกครั้งที่สองจะมุ่งเน้นใช้หลักสูตรของอังกฤษ และหลังสงครามโลกครั้งที่สองก็เริ่มถูกอิทธิพลของอเมริกัน การออกเสียงและการสะกดตัวภาษาอังกฤษถูกเปลี่ยนแปลง และที่รุนแรงที่สุดคือผู้ซึ่งจบจากสหรัฐอเมริกาได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงหลักสูตรการศึกษาของไทยจนมีผลมาถึงปัจจุบันข้อสังเกตข้อหนึ่งคือ วิทยาลัยครูต่างๆ ซึ่งมุ่งเน้นเพื่อการฝึกครูรวมทั้งวิทยาลัยการศึกษาก็ได้แปรเปลี่ยนรูปเป็นมหาวิทยาลัยจนหมดสิ้นในปัจจุบัน รายละเอียดต่างๆ ยังมีอีกมาก แต่ที่ยกมาให้เห็นโดยสังเขปนี้เพื่อให้เห็นว่า วิวัฒนาการการศึกษาของไทยมีความเป็นมายาวนาน มีแหล่งความรู้จากหลายแหล่ง ทั้งจากอินเดีย จีนอังกฤษ และสหรัฐอเมริกา โดยจุดประสงค์หลักสูตรเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย และนโยบายของรัฐ ตลอดทั้งสถานการณ์ทางการเมืองสังคมและเศรษฐกิจในขณะนั้นตัวอย่างเช่น สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) คือสถาบันที่เกิดขึ้นในยุคการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นมหาวิทยาลัยเปิดที่ทดแทนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ซึ่งแปรสภาพจากมหาวิทยาลัยเปิดมาเป็นมหาวิทยาลัยปิด มาในปัจจุบันมหาวิทยาลัยหลายๆ แห่งกำลังแปรสภาพจากหน่วยงานของรัฐซึ่งเทียบเท่าหนึ่งกรม กลายเป็นมหาวิทยาลัยนอกระบบซึ่งเป็นผลมาจากเงื่อนไขที่กำหนดมาจากสถาบันการเงินที่ให้ประเทศไทยกู้เงินโดยมีเงื่อนไขผูกไว้


การศึกษาคือตัวแปรสำคัญในการสร้างคน คนคือตัวจักรสำคัญในการสร้างสังคม รัฐมนตรีที่ดูแลการศึกษาจึงต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีความรอบรู้ประวัติศาสตร์และสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก จึงถือเป็นตำแหน่งที่มีเกียรติยิ่งในสหรัฐอเมริกา เพราะอนาคตของประเทศชาติขึ้นอยู่กับการศึกษาและวัฒนธรรม ตราบเท่าที่ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษามีคุณสมบัติไม่เหมาะสมกับตำแหน่ง อนาคตประเทศชาติย่อมไม่สามารถจะก้าวไปในทิศทางที่พึงประสงค์ได้ เพราะการศึกษาคือการสร้างคน คนสร้างสังคม สังคมก่อขึ้นมาเป็นชาติ--จบ--ลิขิต ธีรเวคิน ราชบัณฑิตผู้อำนวยการโครงการปริญญาเอก วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริกwww.dhiravegin.comlikhit@dhiravegin.com